อาจารย์ชนิศา แจ้งอรุณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์
Advertisements

งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวกุลวีณ์ เกษมสุข ผู้วิจัย
เรื่อง พัฒนาทักษะการพิมพ์สัมผัส นักเรียนระดับ ปวช.1
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
แก้ปัญหาพฤติกรรมการขาดความรับผิดชอบในการส่งงานโดยใช้หลักไตรสิกขา
ผู้วิจัย น.ส สุนิสา แก้วมา วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ

ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ชื่อผู้วิจัย : นางสาวพรธนา ช่วยตั้ง
นางสาวกุลวีณ์ สัตตรัตนามัย โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สมการกำลังสอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
เรื่อง การแก้ปัญหาการเรียนรู้ การวัดการกระจายสัมบูรณ์ โดยใช้วิธีทำแบบฝึกหัดทบทวน และทดสอบหลังบทเรียนของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ชื่องานวิจัยในชั้นเรียน การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาในรายวิชาการบัญชีชั้นกลาง 2 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
ชื่อผลงานวิจัย ศึกษาการพัฒนาทักษะด้านการพิมพ์สัมผัสด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
ใช้เกมพัฒนาทักษะการพิมพ์สัมผัส ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นางชุติพัทธ์ ช่างประดิษฐ์ วิทยาอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
ผู้วิจัย นางระเบียบ คุณากร วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
ศึกษาผลสัมฤทธิ์การใช้ ชุดฝึกเสริมทักษะรายวิชา บัญชีเบื้องต้น 1 สำหรับ นักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปี ที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีระยอง บริหารธุรกิจ ผู้วิจัย.
โชติพัชร บุญทน ผู้วิจัย
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
นางสาวกุลวีณ์ เกษมสุข ผู้วิจัย
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
ชื่อเรื่อง ศึกษาผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ การเขียน เรื่องชนิดของคำ วิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน วิชาหลักการจัดการ โดยใช้วิธีการ สอนแล้วสอบ ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส. 2/1 – 2/5 ) ปี การศึกษา.
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
โดย อาจารย์นันทิพร ม่วงแจ่ม
การพัฒนาการอ่านออกเสียงควบกล้ำ โดยใช้แบบฝึกการอ่านตัว ร, ล, ว ควบกล้ำ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 ห้อง 3 นายคมสัน ชัยรัตน์
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ด้วยวิธีทัศน ศึกษาแบบบูรณาการ รายวิชา งานห้องผ้าและ ซักรีด ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 สาขาการโรงแรม.
การพัฒนาพฤติกรรมการกล้าเสดงออก โดยใช้วิธีการแสดงบทบาทสมมติ ในรายวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 แผนกการตลาด.
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาววัชรา เชื้อรามัญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นางสาวอมรรัตน์ ท่วมแก้ว
นายศิวรุจน์ ศรีแจ่มใส
เรื่อง การพัฒนาทักษะการพิมพ์หนังสือราชการภายนอก ในรายวิชาพิมพ์ไทยด้วยคอมพิวเตอร์ 2 โดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอน แบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักศึกษา ระดับ.
อริส ขวัญเสียงเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเขียนตัวอักษร จีนโดยใช้แบบฝึกการเขียนตามลำดับขีดของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ผู้วิจัย วิชชุดา โรจนสวัสดิ์วงศ์
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้การสืบเสาะหา ความรู้แบบนำทาง
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
อาจารย์ชรินทร ชะเอมเทส
นางสาวเกสรา ฉายารัตน์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาจารย์ชนิศา แจ้งอรุณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ การพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงภาษาไทย ในรายวิชาภาษาไทยเพื่ออาชีพ 3 สำหรับผู้เรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 3/1 สาขางานการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านออกเสียงก่อนเรียนและหลังเรียน อาจารย์ชนิศา แจ้งอรุณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์

ที่มาและความสำคัญของปัญหา ภาษาไทยเป็นภาษาและเอกลักษณ์ประจำชาติไทย ผู้เรียนมีปัญหาการอ่านออกเสียงที่ผิดพลาด เกิดจากปัจจัยต่างๆ เช่น ขาดความสนใจ ขาดทักษะการอ่านที่ดี มีสื่อเทคโนโลยีอื่นๆ ที่น่าสนใจกว่า การฝึกฝนทักษะการอ่านออกเสียงที่ถูกต้องจะทำให้ผู้เรียนมีทักษะการอ่านที่ดีขึ้น

วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อฝึกฝนและพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียง ของผู้เรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 / 1 สาขางานการขาย วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ ฯ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย ผู้เรียนมีทักษะการอ่านออกเสียงในภาษาไทยสูงขึ้น

นวัตกรรมที่ใช้ในการแก้ปัญหา แบบฝึกทักษะการอ่านออกเสียงก่อนเรียน แบบทฝึกทักษะการอ่านออกเสียงหลังเรียน แบบฝึกทักษะการอ่านออกเสียงในภาษาไทย ประกอบด้วย - แบบฝึกการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำ ร จำนวน 2 แบบฝึก - แบบฝึกการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำ ล จำนวน 2 แบบฝึก - แบบฝึกการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำ ว จำนวน 2 แบบฝึก - แบบฝึกทักษะการอ่านออกเสียงก่อนเรียน จำนวน 1 ชุด - แบบฝึกทักษะการอ่านออกเสียงหลังเรียน จำนวน 1 ชุด

ออกเสียงของผู้เรียนสูงขึ้น สมมติฐานการวิจัย การใช้แบบฝึกการอ่านออกเสียง มีผลทำให้นักศึกษามีพัฒนาการ ในการอ่านออกเสียงที่ดีขึ้น กรอบแนวคิดการวิจัย แบบฝึกการอ่าน ออกเสียงภาษาไทย ความสามารถในการอ่าน ออกเสียงของผู้เรียนสูงขึ้น

วิธีดำเนินการวิจัย ประชากรคือ ผู้เรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ ฯ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้เรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3/1 สาขางานการขาย จำนวน 36 คน โดยผู้วิจัยใช้การสุ่มแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แบบฝึกทักษะการอ่านออกเสียงคำในภาษาไทย จำนวน 2 ชุด โดย แบบฝึกชุดที่ 1 เป็นแบบทดสอบการอ่านออกเสียงก่อนเรียน และแบบฝึกชุดที่ 2 เป็นแบบทดสอบการอ่านออกเสียงหลังเรียน ในแต่ละชุดจะมีประโยคที่มีคำที่ใช้ฝึกการอ่านออกเสียง เช่น คำที่มี ร , ล , ว และคำควบกล้ำ จำนวนแบบฝึกละ 50 คำ

การเก็บรวบรวมข้อมูลและสถิติที่ใช้ ข้อมูลที่ต้องการวิเคราะห์ โดยการเปรียบเทียบผลการอ่านออกเสียงก่อนเรียนกับหลังเรียน เทียบค่าเป็นร้อยละ สถิติที่ใช้ โดยการเปรียบเทียบผลการฝึกปฏิบัติ จำนวน 2 ครั้ง และคิดค่าสถิติเปรียบเทียบเป็นเป็นร้อยละ เพื่อหาผลสัมฤทธิ์ในการอ่านออกเสียงก่อนเรียนและหลังเรียน

สรุปผลวิจัย จากการศึกษาเปรียบเทียบผลการอ่านออกเสียงของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่ 3/1 สาขางานการขาย จำนวน 36 คน ในรายวิชาภาษาไทยเพื่ออาชีพ 3 โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านออกเสียง ผลการศึกษาก่อนเรียน คิดเป็นร้อยละ 49.06 หลังเรียน คิดเป็นร้อยละ 83.17 ความก้าวหน้าร้อยละ 34.11 แสดงว่าผลการทดสอบหลังเรียนในการอ่านออกเสียงของนักศึกษาสูงกว่าก่อนเรียน

ตารางเปรียบเทียบผลการวิจัย ก่อนเรียน หลังเรียน ระดับคะแนน จำนวน(คน) ร้อยละ 11-15 1 2.78 16-20 10 27.78 21-25 12 33.33 26-30 8 22.22 31-35 3 8.33 36-40 2 5.56 41-45 - 46-50 36 100 ระดับคะแนน จำนวน(คน) ร้อยละ 11-15 - 16-20 21-25 26-30 3 8.33 31-35 2 5.56 36-40 9 25.00 41-45 15 41.67 46-50 7 19.44 36 100

ข้อเสนอแนะการทำวิจัย ผลการวิจัยสามารถนำ ไปใช้กับผู้เรียนที่มีปัญหาในด้านการอ่านออกเสียงในภาษาไทยและควรปรับใช้ให้เหมาะสมกับความต้องการที่จะพัฒนาทักษะในการอ่าน การพัฒนาทักษะการอ่านควรใช้ควบคู่กับทักษะอื่นๆ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ควรพิจารราถึงความเหมาะสมด้านเวลา ควรมีการสร้างสื่อที่พัฒนาด้านการอ่านทางภาษาไทย โดยใช้กระบวนการทางเทคโนโลยีที่น่าสนใจ ใช้งานง่าย

ขอบคุณค่ะ