วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ชื่อเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความ คงทนในการเรียนรู้เรื่องความรู้เกี่ยวกับแผนธุรกิจ ( Business Plan ) วิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อมรหัส.
Advertisements

แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ โดย นางสาวพรรัมภา ชูรักษ์
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 3 เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2 แผนกช่างอุตสาหกรรม.
สาขาวิชาเครื่องกล วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาบุคลิกภาพโดยใช้แบบฝึกปฏิบัติของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1-3 ( ปวช.1-3 )สาขาวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
สาขางานการท่องเที่ยวใน วิชาการจัดอาหารและเครื่องดื่มเพื่อการท่องเที่ยว
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ผู้วิจัย นางสาวจินตนา เชื้อเมืองพาน
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
การพัฒนาเกมซ่อนคำศัพท์ภาษาอังกฤษมหาสนุก
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
นายณัฐกร กันทะศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สมการกำลังสอง
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวนัทธ์หทัย ปัญเจริญ
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การปรับพฤติกรรมความรับผิดชอบในการทำงาน
การศึกษากิจกรรมพิเศษเพื่อส่งเสริมแรงจูงใจต่อการเรียน
การสร้างและพัฒนาชุดฝึกทักษะ การแก้โจทย์ปัญหา เรื่อง อนุพันธ์
ผู้วิจัย อาจารย์เกษร วุฒิสินธ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ศึกษาการสอนแบบการฟังและพูดของครูกับนักศึกษา
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
ผลงานวิจัยในชั้นเรียน โดย นางสาวแสงดาว บัวอินทร์
***นำเสนอผลงานวิจัย***
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาระบบจัดการพลังงานใน อุตสาหกรรม ระดับชั้น ปวส.2/1 หมวดวิชาช่าง ยนต์ โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน วิชาหลักการจัดการ โดยใช้วิธีการ สอนแล้วสอบ ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส. 2/1 – 2/5 ) ปี การศึกษา.
โดย นางวัลภา เก่งอักษร
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร
นางปิยนุช พงษ์เศวต โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่องวิจัย. การส่งเสริมพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาระดับชั้นปวช
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การแก้ปัญหานักเรียนขาดการกระตือรือร้นในการเรียนภาคปฏิบัติ วิชางานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้นของนักเรียนชั้น ปวช.1/1 ช่างยนต์ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
นางสาวนันท์นภัส นาราช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้บทเรียนมัลติมีเดียแบบ
การศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนการ สอนรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( ปวช. ) ชั้นปีที่ 1 กลุ่ม A11 และ A12.
อาจารย์ชรินทร ชะเอมเทส
วิจัยในชั้นเรียน ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อแก้ไขพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ในรายวิชาช่างอุตสาหกรรม แผนก ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
โดย นางสาวสารภี ศุระศรางค์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ผู้วิจัย นางกรุณา อุประดิษฐ์
นายขวัญชัย ดวงทนัน วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ การพัฒนาและส่งเสริมความมุ่งมั่นในการทำงานของนักเรียน ระดับ ปวช. 1 สาขาช่างยนต์ 1103 ที่เรียนรายวิชางานเชื่อมและโลหะแผ่น คณะผู้วิจัย ยิ่งยง บุญยิ่ง บรรจง เรือนมูล วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่

ปัญหาการวิจัย สภาพปัญหาในการจัดการเรียนการสอน สาระเพิ่มเติม นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 ที่เรียนรายวิชางานเชื่อมและโลหะแผ่น รหัส 2100-1005 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา จังหวัดเชียงใหม่ ในแต่ละปีการศึกษาที่ผ่าน ๆ มา จากการสังเกตพฤติกรรมกลุ่มของนักเรียนเวลาให้ปฏิบัติงาน จะมีนักเรียนหลายกลุ่ม ที่จะทำงานช้าขาดความกระตือรือร้นในการทำงาน ชอบเอารัดเอาเปรียบเพื่อนร่วมงาน และเข้าห้องเรียนสาย และจะยิ่งมีปริมาณเพิ่มมากขึ้นทุกปี ซึ่งพฤติกรรมดังกล่าวของนักเรียนแสดงให้เห็นถึงการขาดความรับผิดชอบและไม่มีความมุ่งมั่นในการทำงาน ถ้าหากปล่อยไว้จนเป็นนิสัยจะก่อให้เกิดผลเสียหลายๆด้าน และที่สำคัญคือ มีผลกระทบต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จะทำให้ผลการประเมินต่ำ การเข้าห้องเรียนสายจะทำให้ทำงานเสร็จไม่ทันตามเวลาที่กำหนด

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาความมุ่งมั่นในการทำงานของนักเรียนระดับ ปวช.1 ช่างยนต์ 1103 ที่เรียนรายวิชางานเชื่อมและโลหะแผ่น 2. เพื่อส่งเสริมความมุ่งมั่นในการทำงานของนักเรียนระระดับ ปวช.1 ช่างยนต์ 1103 ที่เรียนรายวิชางานเชื่อมและโลหะแผ่น

กรอบแนวคิด ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม - ข้อตกลงการทำงาน - การเข้าห้องเรียน - แบบประเมินความมุ่งมั่นในการทำงาน - แบบประเมินตนเอง เรื่อง ความมุ่งมั่นในการทำงาน การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมความมุ่งมั่นในการทำงาน ในการส่งงานและการเข้าห้องเรียนของนักเรียน

ผลการประเมินตนเองของนักเรียนหลังจากการศึกษาวิจัย ทั้ง 5 รายการ ระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับ มากที่สุด คือตนเองเป็นคนเห็นคุณค่าของความมุ่งมั่นอดทนและเป็นคนตรงต่อเวลามากขึ้น รายการประเมิน ค่าเฉลี่ย S.D. ระดับความคิดเห็น 1. ตนเองมีความมุ่งมั่นและเป็นมีความอดทนมากขึ้น 4.91 0.29 มากที่สุด 2. ตนเองเป็นคนตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบต่องานกลุ่มมากขึ้น 4.94 0.24 3. ตนเองเป็นคนเห็นคุณค่าของความมุ่งมั่นอดทนและเป็นคนตรงต่อเวลามากขึ้น 5.00 0.00 4. ตนเองมีการพัฒนาที่ดีขึ้นกว่าเดิมในเรื่องความมุ่งมั่นในการทำงาน 4.79 0.58 5. เวลาที่เสียไปในการมาสายหรือเข้าห้องเรียนสายในแต่ละครั้ง ทำให้ตนเองเห็นคุณค่าของเวลาที่มีต่อการทำงานมากขึ้น 4.81 0.63 4.89 0.35

สรุปผลการวิจัย ผลการวิจัยพบว่า ความคิดเห็นของนักเรียนเกี่ยวกับการดำเนินงานวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง ความมุ่งมั่นในการทำงาน อยู่ในระดับมากที่สุด พฤติกรรมความมุ่งมั่นในการทำงาน การส่งงานและการเข้าห้องเรียนของนักเรียนก่อนและหลังใช้ข้อตกลงแตกต่างกัน หลังใช้ข้อตกลงของห้องเรียนนักเรียนมีพฤติกรรมความมุ่งมั่นในการทำงานเพิ่มมากขึ้น และการเข้าห้องเรียนสายลดลง มากกว่าก่อนใช้ข้อตกลง และผลการประเมินตนเองของนักเรียน เรื่อง ความมุ่งมั่นในการทำงาน อยู่ในระดับมากที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ทั้ง 3 ประการที่ทำการศึกษาวิจัย

ประโยชน์ที่ได้จากการศึกษาวิจัย 1. ทำให้นักเรียนเห็นคุณค่าของความมุ่งมั่นในการทำงานมากยิ่งขึ้น 2. ครูสามารถใช้ผลการศึกษาไปใช้เป็นตัวอย่างในการทำวิจัยในชั้นเรียนเรื่องอื่นๆ 3. เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนด้านอื่นๆ

4. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชางานโลหะแผ่นมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 5. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้น 6. เป็นแนวทางในการพัฒนาความมุ่งมั่นในการทำงาน ให้กับนักเรียนในรายวิชาอื่นๆ