ชุมชนและโรงไฟฟ้า กับการพัฒนาที่ยั่งยืน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สถาบันคุ้มครองเงินฝาก 21 สิงหาคม 2551
Advertisements

แนวทางการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้า ศ.กิตติคุณ ดร. ดิเรก ลาวัณย์ศิริ
ยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อการพัฒนาที่อยู่อาศัย
ประเด็นเน้นหนัก โครงการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน 2550
“e-Revenue” “ภาษี”เรื่องง่าย ๆ.
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
งานสัมมนา “การบริหารกองทุนพัฒนาชุมชน ในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า”
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
ธนาคารขยะ (Waste Bank).
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
แนวทางบริหารจัดการ การจัดซื้อจัดจ้าง ปี 54.
การบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำแผนที่วัฒนธรรมในเขตคูเมืองลำพูน
กฎหมายการเงิน การคลังทั่วไป
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1. คำนิยาม ขาย สินค้า การบริการ ใบกำกับภาษี ภาษีขาย ภาษีซื้อ 2. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี 3. การยกเว้น.
ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการเงินอุดหนุนทั่วไป ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
มาตรการภาครัฐในการสนับสนุน การวิจัยและพัฒนา (R&D)
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
หน่วยงานอื่นของรัฐหรือหน่วยงานอื่นใดที่ดำเนินกิจการของรัฐตาม กฎหมาย และได้รับเงินอุดหนุน หรือเงิน หรือทรัพย์สินลงทุนจากรัฐ กระทรวง ทบวง.
25 กุมภาพันธ์ 2547 คริส และ ชื่นชม กรีเซน
8. การใช้เงินสะสม.
บำเหน็จค้ำประกัน ก.บริหารทรัพยากรบุคคล 7 ก.พ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 มาตรา 66 บุคคลซึ่งรวมกันเป็นชุมชน ชุมชนท้องถิ่น หรือชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม.
แนวทางการสนับสนุนงบประมาณ องค์กรเอกชนด้านเอดส์
การกระจายอำนาจสู่ อปท.
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
การรับซื้อไฟฟ้าจาก VSPP (<1MW)
การส่งเสริมการผลิตไฟฟ้า พลังงานหมุนเวียน “ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า”
การรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP (1)
โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า
การรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน
ประกาศคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการโอนสิทธิตามใบอนุญาตการประกอบกิจการพลังงานพ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการกำกับกิจการ พลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข เกี่ยวกับการกำหนดและจ่าย ค่าทดแทน (
ประกาศคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง มาตรการป้องกัน แก้ไข และติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมสำหรับผู้ได้รับการยกเว้นไม่ต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมสำหรับการผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงชีว
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
ด้านสัญญาณ เตือน คำอธิบาย ด้านการผลิต ภาคการเกษตร สาขา การเกษตร ขยายตัว พิจารณาจากมูลค่า ผลผลิตรวมด้านการเกษตรเพิ่มขึ้น จากปีก่อนร้อยละ สาขาปศุ
การถ่ายโอนภารกิจด้านน้ำบาดาล ให้แก่ อปท.
การประชุมชี้แจงรายละเอียด
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
คือ ระบบบัญชีคอมพิวเตอร์
เงื่อนไขการรับฟ้องและ ในคดีปกครองด้าน สิ่งแวดล้อม
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
การสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายคนพิการทางจิต
เด็กไทยรุ่นใหม่ใส่ใจการออม
โครงการส่งเสริมให้ผู้ ประกอบในกลุ่มนิคม อุตสาหกรรมพื้นที่มาบ ตาพุด เพิ่มอัตราการ นำน้ำกลับมาใช้ใหม่ ปี
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
3.การจัดทำงบประมาณ.
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
ปริมาณสำรองปิโตรเลียม
แนวนโยบายของภาครัฐในการสนับสนุน การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์
ทะเบียนราษฎร.
ระเบียบการรับซื้อไฟฟ้า จากผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก พ.ศ. 2550
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
ศุภกิจ นันทะวรการ มูลนิธินโยบายสุขภาวะ 22 มีนาคม 2553
การนำเสนอ หัวข้อ “ตอบโจทย์อุตสาหกรรมด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม มุ่งสู่ตลาดโลก” วันศุกร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ 2556 ณ ห้องแกรนด์บอลรูม โรงแรมรามาการ์เด้นส์
ระเบียบการรับซื้อไฟฟ้า จากการผลิตไฟฟ้าพลังงานทดแทน
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ ( ฉบับที่ 211) เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการยกเว้นภาษีเงินได้
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับ ภาษีเงินได้ ( ฉบับที่ 218) เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขการได้รับยกเว้นภาษีเงินได้
ความร่วมมือไทย-ลาว ในเรื่อง Contract Farming (CF)
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการกำกับกิจการ พลังงาน เรื่อง มาตรการป้องกัน แก้ไข และ ติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม สำหรับผู้ประกอบกิจการผลิตไฟฟ้า.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการ ลงทุนที่ 6/2554 เรื่อง การแก้ไขเพิ่มเติมมาตรการ แก้ไขปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ระเบียบคณะกรรมการกํากับกิจการ พลังงาน ว่าด้วยการขอรับใบอนุญาต และการอนุญาตการประกอบกิจการ พลังงาน ( ฉบับที่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชุมชนและโรงไฟฟ้า กับการพัฒนาที่ยั่งยืน โดย รองปลัดกระทรวงพลังงาน (ดร.ณอคุณ สิทธิพงศ์) ณ โรงแรมอมารีวอเตอร์ เกท กรุงเทพมหานคร 17 มกราคม 2551

ประเด็นนำเสนอ ไฟฟ้ากับการพัฒนาประเทศ ชุมชนกับโรงไฟฟ้า กองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า ตัวอย่างการดูแลชุมชนรอบโรงไฟฟ้าของต่างประเทศ แนวทางของประเทศไทย

ไฟฟ้ากับการพัฒนาประเทศ ไฟฟ้าช่วยอำนวยความสะดวกในการดำรงชีวิตประจำวัน ไฟฟ้าช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย

ไฟฟ้ากับการพัฒนาประเทศ ความต้องการไฟฟ้าเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เมกะวัตต์ ค่าพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้า ฉบับมีนาคม 2550

ปัจจุบันมีโรงไฟฟ้า ที่มีสัญญาซื้อขายกับการไฟฟ้าตั้งแต่ 6 MW ขึ้นไปที่จ่ายไฟฟ้าเข้าระบบแล้ว จำนวน 100 โรง ใน 39 จังหวัด

ชุมชน กับ โรงไฟฟ้า รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 66 ให้สิทธิกับชุมชนในการมีส่วนร่วมจัดการ การบำรุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมท้องถิ่น โรงไฟฟ้าก็ต้องดำเนินการในเป็นไปตามรัฐธรรมนูญด้วย

>>ต้องอยู่ร่วมกัน<< ชุมชน กับ โรงไฟฟ้า >>ต้องอยู่ร่วมกัน<< กระทรวงพลังงานเล็งเห็นความสำคัญของการอยู่ร่วมกันระหว่างโรงไฟฟ้ากับชุมชนรอบโรงไฟฟ้า จึงกำหนดให้มีการจัดตั้ง ”กองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า” ขึ้น เพื่อจัดหาเงินทุนในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนและสิ่งแวดล้อมในชุมชนพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า

>>กองทุนกับการพัฒนาพลังงานอย่างยั่งยืน<< ชุมชน กับ โรงไฟฟ้า >>กองทุนกับการพัฒนาพลังงานอย่างยั่งยืน<< เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน เน้นการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน เน้นการอยู่ร่วมกันของชุมชนและโรงไฟฟ้า

ตัวอย่างการดูแลชุมชน รอบโรงไฟฟ้าของต่างประเทศ (1) ประเทศญี่ปุ่น: จ่ายเงินอุดหนุน 0.06 บาท/หน่วยให้กับรัฐบาลท้องถิ่น สำหรับโครงพัฒนาสังคม เช่น การสร้างถนน ท่าเรือ ระบบประปา สวนสาธารณะ โรงพยาบาล โรงเรียน ส่งเสริมกิจกรรมวัฒนธรรมพื้นบ้าน ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น และการป้องกันสิ่งแวดล้อม เป็นต้น

ตัวอย่างการดูแลชุมชน รอบโรงไฟฟ้าของต่างประเทศ (2) ประเทศฟิลิปปินส์: จ่ายเงินอุดหนุน 0.008 บาท/หน่วยให้กับ กองทุนไฟฟ้า (25%) กองทุนสำหรับการฟื้นฟูป่าไม้ การจัดการแหล่งน้ำ สาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม (50%) และกองทุนเพื่อการพัฒนาและอาชีพ(25%)

>>กองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า<< แนวทางของประเทศไทย >>กองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า<< ชุมชนรอบโรงไฟฟ้าเป็นผู้รับประโยชน์ ภาคประชาชนมีส่วนร่วมหลัก ผู้ใช้ไฟฟ้ารับภาระกองทุน เพื่อการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน

ชุมชนที่ได้รับผลประโยชน์จากกองทุนฯ กองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า ชุมชนที่ได้รับผลประโยชน์จากกองทุนฯ ตำบลที่อยู่ในรัศมี 5 กิโลเมตร จากขอบเขตของ โรงไฟฟ้า/นิคมอุตสาหกรรมที่โรงไฟฟ้าตั้งอยู่ หรือพื้นที่ที่คณะกรรมการบริหารกองทุนกำหนด

คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ กองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ กำหนดให้มีคณะกรรมการเป็นผู้กำกับดูแลและบริหารจัดการเงินกองทุนฯ ซึ่งประกอบด้วย ผู้แทนภาคประชาชน (มากกว่าครึ่งหนึ่ง) ผู้แทนภาครัฐ ผู้แทนโรงไฟฟ้า ผู้ทรงคุณวุฒิ

อัตราการจ่ายเงินเข้ากองทุนฯ กองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า อัตราการจ่ายเงินเข้ากองทุนฯ กำหนดให้โรงไฟฟ้าที่ขายไฟเข้าระบบตั้งแต่ 6 MW ขึ้นไป จ่ายเงินเข้ากองทุนฯ ในอัตราดังนี้ เชื้อเพลิง สตางค์/หน่วย ก๊าซธรรมชาติ 1.0 น้ำมันเตา, ดีเซล 1.5 ถ่านหิน, ลิกไนต์ 2.0 พลังงานหมุนเวียน ลมและแสงอาทิตย์ ชีวมวล กากและเศษวัสดุเหลือใช้ ขยะ พลังน้ำ - ทั้งนี้โรงไฟฟ้าที่จ่ายไฟเข้าระบบหลัง 1 ม.ค. 54 จ่ายเงินเข้ากองทุนฯ ในช่วงการก่อสร้างในอัตรา 50,000 บาท/MW/ปี ตามกำลังผลิตติดตั้ง หรือไม่ต่ำกว่า 500,000 บาทต่อปี

กรอบการใช้จ่ายเงินกองทุนฯ กองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า กรอบการใช้จ่ายเงินกองทุนฯ เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนและสิ่งแวดล้อมในชุมชนรอบโรงไฟฟ้าอย่างแท้จริง 1. อุดหนุนหรือช่วยเหลือแก่ชุมชนเพื่อการพัฒนาอาชีพ คุณภาพชีวิต การศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี กีฬาและดนตรี สาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม บรรเทาความเสียหายในเบื้องต้นจากผลกระทบที่มีสาเหตุจากโรงไฟฟ้าและอื่นๆ 2. สนับสนุนการพัฒนาพลังงานหมุนเวียน 3. สนับสนุนการจัดทำผังเมืองรวมชุมชน 4. จัดทำแผนการพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า 5. ให้เงินเป็นค่าใช้จ่ายหรือค่าตอบแทนในการปฏิบัติงานอื่นๆ 6. นำเงินหรือทรัพย์สินไปหาผลประโยชน์

การตรวจสอบการใช้จ่ายเงินกองทุนฯ กองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า การตรวจสอบการใช้จ่ายเงินกองทุนฯ กำหนดให้คณะกรรมการบริหารกองทุนดำเนินการดังนี้ จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงานประจำปี จัดทำรายงานผลการสอบบัญชี จัดให้มีระบบการตรวจสอบภายในเกี่ยวกับการบริหารจัดการ การเงิน การบัญชี และการพัสดุ เสนอต่อคณะกรรมการติดตามและประเมินผลและเผยแพร่ให้ชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้าและสาธารณชนโดยทั่วไปทราบ

กองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า การจ่ายเงินเข้ากองทุนฯ ให้ผู้ผลิตไฟฟ้าจ่ายเงินโดยตรงให้แก่กองทุนฯ ตั้งแต่ 1 ก.ค. 50 เป็นต้นไป แต่ในช่วงที่ยังไม่มีการจัดตั้งกองทุนฯ ให้ กฟผ. เป็นผู้จ่ายเงินเข้ากองทุนฯ และเรียกเก็บคืนผ่านค่า Ft

จำนวนเงินนำส่งเข้ากองทุนฯ กองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า จำนวนเงินนำส่งเข้ากองทุนฯ

กฟผ. จะโอนเงินเข้ากองทุนเมื่อ กองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า กฟผ. จะโอนเงินเข้ากองทุนเมื่อ มีแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารกองทุน โดยผู้ว่าราชการจังหวัด มีบัญชีเงินฝาก มีระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ผู้ว่าราชการจังหวัดส่งสำเนารายละเอียดข้างต้นไปที่ สนพ.

กองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า กองทุนฯ กับการเสียภาษี ในช่วงแรก >เงินที่ กฟผ. จะโอนเข้ากองทุนฯ คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ จะต้องดำเนินการขอเลขทะเบียน ผู้เสียภาษี > กองทุนฯ จะต้องเสียภาษีเงินได้จากยอดรายได้หลังหักค่าใช้จ่าย เมื่อคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงานมีระเบียบเกี่ยวกับกองทุนพัฒนาไฟฟ้า >กองทุนฯ จะอยู่ภายใต้ พรบ.การประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550 >ไม่ต้องเสียภาษีอีกต่อไป

การส่งผ่านค่าใช้จ่ายของโรงไฟฟ้า กองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า การส่งผ่านค่าใช้จ่ายของโรงไฟฟ้า เงินที่โรงไฟฟ้าจ่ายเข้ากองทุนฯ กำหนดให้ โรงไฟฟ้าที่จ่ายไฟฟ้าก่อน 1 ม.ค. 54 ส่งผ่านค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นทางค่าไฟฟ้า Ft โรงไฟฟ้าที่จ่ายไฟฟ้าตั้งแต่ 1 ม.ค. 54 เป็นต้นไป กำหนดเป็นเงื่อนไขในประกาศเชิญชวนการรับซื้อไฟฟ้าจาก IPP บวกเพิ่มจากราคาซื้อขายไฟฟ้าตามระเบียบการรับซื้อไฟฟ้า สำหรับ SPP และ VSPP เงินที่โรงไฟฟ้าจ่ายเข้ากองทุนฯ หมายถึงเงินที่ได้มาจากค่าไฟฟ้าของผู้ใช้ไฟฟ้าทั่วประเทศ

ผู้ใช้ไฟฟ้าทั่วประเทศจ่ายเงินเข้ากองทุนฯ การส่งผ่านค่าใช้จ่ายของโรงไฟฟ้า ผู้ใช้ไฟฟ้าทั่วประเทศจ่ายเงินเข้ากองทุนฯ ทำไมผู้ใช้ไฟฟ้าทั่วประเทศต้องจ่ายเงินเข้ากองทุนฯ ให้กับคนที่อยู่รอบโรงไฟฟ้า??? ประชาชนทั่วประเทศมีไฟฟ้าใช้ เกิดจากการเสียสละของชุมชนที่ยอมให้มีโรงไฟฟ้าตั้งอยู่ ค่าไฟฟ้าเท่ากันทั่วประเทศไม่ว่าใกล้ไกลจากโรงไฟฟ้า ทุกคนทั่วประเทศที่ใช้ไฟฟ้าควรมีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการผลิตไฟฟ้า