แบบทดสอบชุดที่ 1 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
ระบบจัดการคลังข้อสอบส่วนกลาง
อยู่ใกล้กันมากขึ้นและมีความบางของวงมากขึ้น B)
WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
น้ำหนักแสงเงา.
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
ตัวอย่างการคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
รูปทรงและปริมาตร จัดทำโดย นางสาวเพ็ญประภา กฤษฎาเรืองศรี ตำแหน่ง อาจารย์ 1 ระดับ 3 โรงเรียนวัดธาตุทอง สำนักงานเขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร.
บทที่ 3 การเคลื่อนที่.
แบบสำรวจสายตานักเรียนในโครงการแว่นสายตา
ทัศนศาสตร์(Optics) วิชาศึกษาธรรมชาติแสงและการมองเห็น.
แสงและการมองเห็น ผู้จัดทำ นางเฉลิมศรี เปียปาน.
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
ตาและการมองเห็น กระจกตา - โฟกัสภาพ - ระยะโฟกัสคงที่ เลนส์ตา - โฟกัสภาพ
=> Co= 299,792.5 km/s ( สุญญากาศ)
ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก เวลา น. ไปตกยังทิศตะวันตก เวลา 18
ทฤษฎีเตาความร้อนจากแสงอาทิตย์
Points, Lines and Planes
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
Ultrasonic sensor.
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
เลนส์.
2. เลนส์ปกติ หรือเลนส์มาตรฐาน (Normal lens or Standard lens)
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
เลนส์นูน.
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
การประดิษฐ์นาฬิกาแดด
ผลิตโดย นางศรีไพ จิตอารี โรงเรียนเมืองแงง อำเภอปัว จังหวัดน่าน
ผลิตโดย นางศรีไพ จิตอารี โรงเรียนเมืองแงง อำเภอปัว จังหวัดน่าน
ผลิตโดย นางศรีไพ จิตอารี โรงเรียนเมืองแงง อำเภอปัว จังหวัดน่าน
เรื่อง การบอกตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า จัดทำโดย กลุ่ม 5
เ ฮี ย น ฟิ สิ ก ส์ โ ต ย ค รู โ อ๊ บ
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โดย ครูเพ็ญนภา ทองนุ่ม
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
ภาพฉายหลายมุมมอง (Multiview Projection )
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
การภาพจากการสะท้อนแสงของผิวโค้ง
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
กล้องโทรทรรศน์.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
การสะท้อนแสงบนกระจกเงา
ทฤษฎีบทปีทาโกรัส.
การสะท้อนแสงของผิวโค้ง
ภาพที่เกิดจากเลนส์นูน
แบบทดสอบ ชุดที่ 2 เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Physics3 s32203 light light2 บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
แสง การมองเห็น และทัศนอุปกรณ์
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
1. เลนส์นูน เป็นเลนส์ที่ผิวโค้งตรง กลางหนากว่าบริเวณขอบ 2
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
2.ทฤษฎีบทพิทาโกรัส(เขียนในรูปพื้นที่ของสี่เหลี่ยมจัตุรัส)
ดาวพลูโต (Pluto).
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
รถยนต์วิ่งมาด้วยความเร็วคงที่ 10 เมตร/วินาที ขณะที่อยู่ห่างจากสิ่งกีดขวางเป็นระยะทาง 35 เมตร คนขับก็ตัดสินใจห้ามล้อโดยเสียเวลา 1 วินาที ก่อนห้ามล้อจะทำงาน.
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
การนำทฤษฎีพีทาโกรัสไปใช้
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
เกมทายนิสัย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แบบทดสอบชุดที่ 1 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้

1. ภาพที่ปรากฏในกระจกเงาระนาบ เป็นภาพชนิดใด 1. ภาพจริง หัวกลับ ฉากรับได้ 2. ภาพจริง หัวตั้ง ฉากรับไม่ได้ 3. ภาพเสมือน หัวตั้ง ฉากรับไม่ได้ 4. ภาพเสมือน หัวตั้ง ฉากรับไม่ได้

2. นายอดุลมองเห็นภาพเทียนไขในกระจกเงาระนาบ บานหนึ่ง เห็นภาพเทียนไขอยู่ห่างจากสายตา 30 เซนติเมตร อยากทราบว่าเทียนไขวางห่างจากตานายอดุลกี่เซนติเมตร วัดในแนวเดียวกับที่เขามองดูภาพเทียนไข 1. 10 2. 20 3. 30 4. 40

3.จากรูปที่กำหนดให้มุมสะท้อนมีค่าเท่าไร 37 องศา 45 องศา 53 องศา 90 องศา

4. ภาพที่มองเห็นในกระจกเงาราบเป็นภาพแบบใด 1. ภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเท่าวัตถุเดิม 2. ภาพจริงหัวตั้งขนาดเท่าวัตถุเดิม 3. ภาพเสมือนหัวกลับขนาดเท่าวัตถุเดิม 4. ภาพจริงหัวกลับขนาดเท่าวัตถุเดิม

5. รูปใดที่แสดงภาพที่เกิดจากกระจกเงาได้อย่างถูกต้อง 1. 2. 3. 4.

6. ภาพที่ได้จากกระจกนูนจะต้อง 1. เป็นภาพจริง หัวกลับ ขนาดลดเสมอ 2. เป็นภาพจริง หัวกลับ ขนาดขยายเสมอ 3. เป็นภาพเสมือน หัวตั้ง ขนาดลดเสมอ 4. ไม่ถูกทั้ง 3 ข้อ

7.ต้องวางวัตถุที่ตำแหน่งใดหน้ากระจกเว้า จึงจะได้ภาพมีขนาดโตกว่าวัตถุ F C z y x 1. x,y 2. x,z 3. y,z 4. y

8.ขณะที่ทันตแพทย์ใช้กระจกเว้าดูฟันผู้ป่วย วัตถุ A คือฟันของผู้ป่วย ควรจะอยู่ดังภาพใด 1. 2. C F C F A A C F 3. 4. C F A A

1. 200 เซนติเมตร 2. 100 เซนติเมตร 3. 50 เซนติเมตร 4. 25 เซนติเมตร 9.ถ้าใช้กระจกเว้าที่มีรัศมีความโค้ง 100 เซนติเมตร รับแสงจากดาวดวงหนึ่ง จะได้ภาพห่างจากกระจกเท่าไร 1. 200 เซนติเมตร 2. 100 เซนติเมตร 3. 50 เซนติเมตร 4. 25 เซนติเมตร

10. กระจกที่ใช้ติดข้างรถสำหรับคนขับใช้ดูรถข้างหนังเป็นกระจกชนิดใด 1. กระจกนูน 2. กระจกเว้า 3. กระจกราบ 4. เลนส์เว้า

สวัสดี