โดย ผศ.ดร.เสริมศิริ อัครพุฒิพันธ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประเมินผลสถานศึกษา
Advertisements

นายกสภา มหาวิทยาลัยมหิดล
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
หน้าที่ของผู้บริหาร.
รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
จุดมุ่งหมายหลักสูตร และการนำหลักสูตรไปใช้
การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
กิจการนิสิต (Student Affairs)
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
แนวทางการรับรอง มาตรฐาน การประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษา อนุมงคล ศิริเวทิน อนุมงคล ศิริเวทิน.
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
“ การส่งเสริมโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยสุขภาพดี ”
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
สหกรณ์การเกษตรสามง่าม จำกัด
ชื่อตัวบ่งชี้ 3.3 : มีการนำความรู้และประสบการณ์ จากการบริการวิชาการและ วิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการ สอนและการวิจัย ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน คณะฯ ยังขาดการรวบรวม.
ชุมนุม YC.
ชุมนุม YC.
ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ปัญหาความสัมพันธ์ ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน ผู้สอน อ.ดร.อิศรัฏฐ์ รินไธสง
มาตรฐานวิชาชีพครู.
บทบาทของชุมชนต่อโรงเรียน
จากนโยบาย... สู่การปฏิบัติ
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
แนวคิดในการวิเคราะห์ผู้เรียนที่นิยม 5 แนวคิด
สุขภาพจิต และการปรับตัว
การวิเคราะห์ผู้เรียน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบาย และแผนยุทธศาสตร์ระดับชาติ ด้านการพัฒนาเด็ก ตามแนวทาง “โลกที่เหมาะสมสำหรับเด็ก” (พ.ศ )
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
การสัมมนาโครงการสร้างอนาคต แพทย์ทหารเรือ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๑ ขั้นตอนที่ ๑ Stake Holder Analysis : การวิเคราะห์ความต้องการของ ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียทั้งหมด ขั้นตอนที่
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
กลุ่มที่ ๔ “ รวมมิตรพิชิต ศูนย์ ” ® วิธีการ/แนวทางการ ปฏิบัติงาน และพัฒนาส่งเสริม การเกษตร ในระดับพื้นที่ร่วมกัน.
นโยบายด้านบริหาร.
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
วิชาวิศวกรรมความรู้ - การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาองค์กร
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
๓. ด้านการจัดกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน.
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
บทบาทอาสาสมัครผู้สูงอายุ
การนำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่การปฏิบัติเพื่อส่งเสริมการจัดการศึกษาวิชาชีพ เพื่อการมีงานทำ.
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
โรงเรียนปัญญาวรคุณ Panyaworakun school
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
โดย ผศ.ดร.เสริมศิริ อัครพุฒิพันธ์
มีคุณธรรม นำวิชาการ สู่มาตรฐานสากล
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ความหมายของ KM การจัดการความรู้ หมายถึง กระบวนการอย่าง มีระบบเกี่ยวกับการประมวลข้อมูล สารสนเทศ ความคิด การกระทำ ตลอดจนประสบการณ์ของ บุคคลเพื่อสร้างเป็นความรู้หรือนวัตกรรม.
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
การปรับตัวและเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่อาเซียน
โครงสร้างองค์การส่วนกลาง (ฉบับแก้ไข)
จิตวิทยาการปรึกษาเบื้องต้น
การทำงานเป็นทีม การทำงานเป็นทีม หมายถึง กลุ่มคนที่ต้องมาทำงานร่วมกัน โดยมีวัตถุประสงค์อย่างเดียวกันและเป็นการรวมตัวกัน โดยอาศัยความรู้ ความเข้าใจ ความผูกพัน.
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย ผศ.ดร.เสริมศิริ อัครพุฒิพันธ์ ขอบข่ายของการแนะแนว โดย ผศ.ดร.เสริมศิริ อัครพุฒิพันธ์

ขอบข่ายของการแนะแนว การแนะแนวด้านการศึกษา (Educational Guidance) การแนะแนวด้านการงานและอาชีพ (Vocational Guidance) การแนะแนวด้านส่วนตัวและสังคม การแนะแนวบุคลิกภาพ (Personality Guidance)

ประเภทของการให้บริการปรึกษา ทวิชซ์และโควิชซ่า ได้แบ่งประเภทของการให้การปรึกษา ๓ ประเภท คือ ๑. การปรึกษาในภาวะวิกฤต (Crisis Counseling) เป็นบริการให้การปรึกษากับผู้รับบริการที่มีปัญหาคับข้องใจ หรือความกดดันจากปัญหาก่อนแล้ว จึงใช้วิธีการที่เหมาะสมต่อไป ๒. การปรึกษาเพื่อส่งเสริมพัฒนาการ (Developmental Counseling) เป็นการส่งเสริมให้ผู้รับบริการให้มีพัฒนาการที่ดีในแต่ละช่วงของวัย การมีความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น มีพัฒนาการที่ดีในทุกๆ ด้านตามวัยของตนเอง

(ต่อ) ๓. การปรึกษาเพื่อบำบัด (Therapeutic Counseling) เป็นการปรึกษาที่มีลักษณะเฉพาะ ซึ่งผู้ให้บริการปรึกษาจะต้องมีความเชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิต และชีวิตจิตประสาท (Kowithz, Gerald+Knowithz Norma, An Introduction to School Guidance. New York:Holt Rinehart and Winston Inc.1991. pp. 161-165)

จุดมุ่งหมายของบริการปรึกษา ๑. ด้านการศึกษา ผู้ให้การปรึกษาจะช่วยให้ผู้มารับการปรึกษาได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางในการศึกษา การวางอนาคตของชีวิตทางการศึกษา ซึ่งจะส่งผลสะท้อนถึงการประกอบอาชีพต่อไปในภายหน้า การเลือกวิชาเรียนให้เหมาะสมกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของแต่ละคน ๒. ด้านอาชีพ จะช่วยให้ผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับอาชีพสามารถเข้าใจถึงโลกของงานอาชีพไว้ดียิ่งขึ้น เข้าใจถึงโอกาสในการประกอบอาชีพ การเลือกอาชีพที่เหมาะสมกับคุณสมบัติ คุณลักษณะของตนเอง ตลอดจนถึงความสุขใจในการประกอบอาชีพ

(ต่อ) ๓. ด้านส่วนตัวและสังคม ช่วยให้ผู้มารับการปรึกษาปรับตัวได้ดีขึ้น ในขณะที่ดำเนินชีวิตอยู่ในครอบครัว ที่ทำงาน โรงเรียน การให้การปรึกษาทางด้านส่วนตัวและสังคม จะช่วยให้บุคคลนั้นมีสุขภาพจิตที่ดี เข้าใจตนเอง ยอมรับตนเอง และยอมรับผู้อื่นได้มากขึ้น ซึ่งจะช่วยให้การทำงานร่วมกับผู้อื่นมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น อันจะเป็นการสร้างสรรค์ประโยชน์ให้แก่ตนเองและสังคม

๑.ภารกิจของงานแนะแนว ภารกิจของการแนะแนวด้านบริการ ๑.๑. การเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นรายบุคคล ๑.๒. บริการสารสนเทศ ๑.๓. บริการให้การปรึกษา (Counseling Service) ๑.๔. บริการจัดวางตัวบุคคล (Placement Service) ๑.๕. บริการติดตามและประเมินผล (Follow up + Evaluation Service) ๑.๖. ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน

๒.ภารกิจของการแนะแนวด้านบริหาร ๒.๑ การบริหารงานแนะแนวด้วยกระบวนการบริหารโดยระบบ POSDCORB ได้แก่ การวางแผน การจัดองค์กร การจัดบุคลากร การอำนวยการ การประสานงาน การรายงาน และการบริหารงบประมาณ ๒.๒ การบริหารโดยเน้นขั้นตอนดำเนินงาน - กำหนดเป้าหมายและจุดมุ่งหมายของการแนะแนว - สำรวจปัญหาและความต้องการด้านต่างๆของกลุ่มเป้าหมาย - สำรวจความต้องการด้านบุคลากร งบประมาณ และแหล่งบริการในชุมชน - ปฏิบัติงานตามแผน - ติดตามและประเมินผล

๓. ภารกิจของการแนะแนวด้านวิชาการ ๓.๑ สร้างองค์ความรู้ทางด้านจิตวิทยา ๓.๒ การรวบรวมและใช้องค์ความรู้ผ่านผลงานวิจัยต่างๆ

ขอขอบคุณ