คุณค่าคนทำงาน คือการทำงานให้มี คุณภาพ ตอบสนองความต้องการ ของผู้รับบริการทั้งภายนอกและ ภายในตามมาตรฐานวิชาชีพ เป้าหมายของการทำงาน คือ การ ให้บริการที่มี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
“ศกร.กศน.ในต่างประเทศที่มีคุณภาพ ”
Advertisements

การบริหารความสัมพันธ์และการฟื้นฟูความพอใจ จากบริการที่ผิดพลาด
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
Patient Safety Walk Rounds :
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
“แนวปฏิบัติจัดการความรู้” (The Practices of Knowledge Management)
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
จัดตั้งงานประสานศูนย์วิทยพัฒนา 25 สิงหาคม 2550
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
ผู้ใช้บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การเตรียมการนำเสนอผลงานของ PCT และระบบสำคัญ
II – 2.1 การกำกับดูแลวิชาชีพ ด้านการพยาบาล (Nursing)
แบบฟอร์มยืนยัน แผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การทำงานเชิงรุก การทำงานเชิงรุก
SWOT Analysis KTA Model บทที่ 3 SWOT Analysis
HA คืออะไร วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
กระบวนการคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ตัวอย่าง นวัตกรรมทางการพยาบาล
การจัดสวัสดิการ ของสหกรณ์
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
หมวด 1 การนำองค์กร การให้การสนับสนุนชุมชน ดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม
ผลการประเมินการดำเนินงาน 46
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
โรงพยาบาลขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
การบริหารสู่ความเป็นเลิศ
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
Participation : Road to Success
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
มาตรฐาน งานเทคนิคการแพทย์2551
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
Balanced Scorecard ( BSC ).
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
การธำรงรักษาระบบคุณภาพหลังการรับรอง
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
คู่มือการพัฒนาคุณภาพ HA SPA SAR 2011 HA Scoring Guideline 2011
บันได 3 ขั้น ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ
ข้อคำถามที่ 1 จงตอบคำถามต่อไปนี้
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
Paradigm Workshop by Dr. Prapon Phasukyud
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
การวางแผนยุทธศาสตร์.
แนวทางการพัฒนาเพื่อธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HAการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557.
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
WHAT IS THE PROJECT?.  งานต่างๆ ที่ออกแบบเพื่อทำให้ วัตถุประสงค์ที่เฉพาะเจาะจงสำเร็จ ลุล่วงภายในเวลาที่กำหนด คุณจะ พัฒนาผลการดำเนินงานได้ด้วย การคิดหางานที่จะช่วยให้บรรลุ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
แนวคิดบันไดขั้นที่ 2 สู่ HA สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)
การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร Total Quality control : QCC
ทำไมต้องทำ HA ? เพราะทำให้เกิดระบบงานที่ดี
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คุณค่าคนทำงาน คือการทำงานให้มี คุณภาพ ตอบสนองความต้องการ ของผู้รับบริการทั้งภายนอกและ ภายในตามมาตรฐานวิชาชีพ เป้าหมายของการทำงาน คือ การ ให้บริการที่มี คุณภาพของโรงพยาบาล 1.) คุณภาพทางคลินิก 2.) คุณภาพการบริการทั่วไป 3.) คุณภาพทางการบริหารจัดการ

หัวใจสำคัญของคุณภาพโรงพยาบาล คือ การเน้นผู้ป่วยและผู้รับผลงานเป็นศูนย์กลาง การเน้นผู้ป่วยและผู้รับผลงานเป็นศูนย์กลาง ได้แก่ ….  การรับทราบความต้องการ / ความ คาดหวัง (Need / Expection)  การรับเสียงสะท้อน  การตอบสนองความต้องการ / ความ คาดหวัง “ ลูกค้าคือบุคคลที่สำคัญที่สุด ที่มาเยือนเราเขามิได้ พึ่งเรา แต่เราต่างหากที่จำเป็นต้องพึ่งเขา เขามิได้มา ขัดจังหวะการทำงานของเรา หากแต่การรับใช้เขา คือ " วัตถุประสงค์ของงานเรา “ เขามิใช่ บุคคลภายนอก แต่ เขาเป็นส่วนหนึ่งของการทำงาน ของเรา ในการรับใช้เขานั้น เรามิได้ช่วยอะไรเขาเลย เขาต่างหากเป็นฝ่ายช่วยเหลือเรา โดยให้โอกาสแก่ เรา ที่จะได้รับใช้เขา ( มหาตมะ คานธี )

หัวใจของการพัฒนาคุณภาพคือแนวคิด การทำงานที่ทุกคน ทำงานด้วยใจ มีส่วนร่วม มีความมุ่งมั่น และร่วมมือทำงานเป็นทีม เพื่อ ทำงานปกติให้ดี และปรับปรุงระบบงานให้ดี ขึ้นอย่างต่อเนื่อง เพื่อผู้ป่วย / ผู้รับผลงาน และประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นกับองค์กร TQM ( Total Quality Management )

เครื่องมือสำคัญของการพัฒนาคุณภาพ คือการทบทวนตรวจสอบตนเองเพื่อจุด ประกายการพัฒนา การทบทวนตนเองขั้นต้น โดยใช้ 5 คำถาม 3 ระดับ ( ระดับบุคคล ระดับหน่วยงาน ระดับ ระบบงานหรือระดับโรงพยาบาล  เรามีอยู่เพื่อ อะไร  เราทำอะไร  เราทำไปทำไม  เราทำได้ดีแล้ว หรือไม่  เราทำให้ดีขึ้น ได้อย่างไร

* การทบทวนตนเองในขั้นต่อมา ประเมินตามมาตรฐาน HA, มาตรฐานวิชาชีพ ( เช่น QA, LA) ฯลฯ * การทบทวนกันเอง การเยี่ยมสำรวจภายใน (Internal survey) หรือการ เยี่ยมเพื่อกระตุ้นการพัฒนาคุณภาพ (Quality Round) * การทบทวนจากภายนอก การเยี่ยมสำรวจจากภายนอก (external survey) เพื่อยืนยันผลการ ประเมินตนเองของโรงพยาบาล

แนวทางหาคำตอบเมื่อเผชิญ ปัญหา 1.) ใช้หลักทางสายกลาง 2.) เน้นเป้าหมายและหลักการ มากกว่ารูปแบบ 3.) ทดลองปฏิบัติ 4.) ติดตามประเมินผล 5. ) เรียนรู้ และปรับปรุงต่อเนื่อง

* พันธกิจ / วิสัยทัศน์ * ประชาชนมีสภาวะ สุขภาพที่ดีและได้รับ การดูแลอย่างเหมาะสม * ความพึงพอใจของ ผู้รับบริการ * ประสิทธิภาพของการ บริหารจัดก าร *EXTERNAL SURVEY *RISK MANAGEMENT, 5 ส *INTERNAL SURVEY *SELF ASSESSMENT INDICATORINDICATOR QAQA TQM/ CQI QAQA CQ I QA ระบบ เอกสาร ACCREDI T HU M MI S มาตรฐาน พ. ร. พ. มาตรฐานพบส. มาตรฐานวิชาชีพ, มาตรฐานการพยาบาล มาตรฐาน HPH, มาตรฐาน IC PLA N DODO CHE CK AC T แผนยุทธศาสตร์, แผนปฏิบัติการ SWOT

โรงพยาบาลที่มีคุณภาพ * เจ้าหน้าที่ทุกคนที่มีใจมุ่งมั่นที่จะทำงาน มี เป้าหมายในการทำงานที่ชัดเจน ทำงานอย่าง มีคุณภาพให้ความสำคัญต่อความปลอดภัย ผู้ป่วย * มีการทำงานร่วมกันเป็นทีม ภายใน ระหว่างหน่วยงาน / วิชาชีพ * จัดบริการโดยเน้นผู้ป่วยและผู้รับผลงาน เป็นศูนย์กลาง * มีมาตรฐานในการทำงานร่วมกัน * มีระบบทบทวนตรวจสอบตนเองที่น่าเชื่อถือ อย่างสม่ำเสมอ ทั้งระบบงานทั่วไปและในการดูแลผู้ป่วย