นางสาวกุลวีณ์ สัตตรัตนามัย โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
Advertisements

แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
นางเจริญสุข ผ่องภักดี
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางนุชนาฎ หิรัญ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
นางพรพรรณ สนทอง โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมประยุกต์ทางคอมพิวเตอร์ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
ผู้วิจัย น.ส สุนิสา แก้วมา วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์
นางพรทิพย์ วิริยะโพธิการ
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
วิจัยประเภทการเรียนการสอน
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
ชื่อผู้วิจัย : นางสาวพรธนา ช่วยตั้ง
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
นางสาวกานณภา ทองเกิด สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
อาจารย์ชนิศา แจ้งอรุณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นางสาววราภรณ์ ว่องนัยรัตน์ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้วิจัย นางสาวอาภรณ์ เทียนทอง สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
นางสุกัญญา พลรัตนมงคล วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
นางสาวกุลวีณ์ เกษมสุข ผู้วิจัย
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย โดยจัดกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ ด้วยวิธี STAD ของนักเรียน 501 สาขางานการบัญชี
นางสาวสุภาภักดิ์ แก้วศรีมล วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
การนำเสนอผลงานวิจัย ชื่อเรื่อง : สมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. แผนก การบัญชี ตามความคิดเห็นของหัวหน้าแผนกบัญชี ในเขตพื้นที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
นางปิยนุช พงษ์เศวต โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
นางสาววรันธร ปรุงเรณู
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาอาชีวศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาการ บัญชี วิชาการบัญชีเบื้องต้น ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบสร้าง สถานการณ์จำลอง.
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวทิพย์วรรณ จะปูน วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร เชียงใหม่
นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี
นายทัศนชัย เหน็บบัว โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย

โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการสร้างเว็บเพจ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย ที่ได้รับการสอนแบบ.
นายวีรพล ยิ้มย่อง สังกัด วิทาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
นางสาวเกสรา ฉายารัตน์
วุฒิการศึกษา/สถานศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นางสาวกุลวีณ์ สัตตรัตนามัย โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย การเปรียบเทียบคะแนนแบบฝึกหัด วิชาการบัญชีกับคอมพิวเตอร์ เรื่อง การบันทึกข้อมูลรายวัน ด้วยการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปบัญชีลงเครื่องคอมพิวเตอร์กับการทำลงในกระดาษ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 สาขางานการบัญชี นางสาวกุลวีณ์ สัตตรัตนามัย โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย

ปัญหาการวิจัย การบัญชีมีบทบาทอย่างสำคัญควบคู่ไปกับการดำเนินงานทางธุรกิจ ซึ่งปกติจะบันทึกข้อมูลรายวันลงในกระดาษ ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาเรื่อง ความสะอาด และรวดเร็วในการออกรายงาน และเปลืองกระดาษ แต่การบันทึกข้อมูลรายวัน ด้วยการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปบัญชี BC Account GL 2.0a ลงเครื่องคอมพิวเตอร์ จะถูกต้อง แล้วยังเกิดความ รวดเร็ว มีความเรียบร้อย และ ความสะอาด อีกทั้งสามารถลดการใช้ กระดาษเมื่อผิดพลาดสามารถแก้ไขก่อนการออกรายงาน และยังถูกต้อง ตามมาตรฐานของกรมสรรพากร

วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อเปรียบเทียบคะแนนแบบฝึกหัด วิชาการบัญชีกับคอมพิวเตอร์ เรื่อง การบันทึกข้อมูลรายวัน ด้วยการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปบัญชีลง เครื่องคอมพิวเตอร์กับการทำลงในกระดาษ

ประชากร นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 สาขางานการบัญชี ที่ ศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนกรุงเทพการบัญชี วิทยาลัย กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 สาขางานการบัญชี ที่ ศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนกรุงเทพการบัญชี วิทยาลัย จำนวนนักเรียน 20 คน โดยสุ่มอย่างง่าย

เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล 1. เครื่องคอมพิวเตอร์ มีโปรแกรมสำเร็จรูปบัญชี BC Account GL 2.0a และกระดาษ 2. แบบฝึกหัดเรื่องการบันทึกข้อมูลรายวัน จำนวน 2 ข้อ แบบฝึกหัดข้อละ 20 คะแนน รวม 40 คะแนน

การรวบรวมข้อมูล เรื่อง การบันทึกข้อมูลรายวัน ลงกระดาษ ระยะเวลาของการทำวิจัย 2 สัปดาห์ โดยดำเนินการดังนี้ 1. ครูสอนเรื่อง การบันทึกข้อมูลรายวัน หลังจากนั้นให้กลุ่มตัวอย่างทำแบบฝึกหัดข้อ 3.1 เรื่อง การบันทึกข้อมูลรายวัน ลงกระดาษ 2. ตรวจแบบฝึกหัด เรื่อง การบันทึกข้อมูลรายวัน โดยตรวจสอบการบันทึกบัญชีถูกต้อง ความเรียบร้อย ความรวดเร็ว และความสะอาด นำไปปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ 3. ทำแบบฝึกหัดข้อ 3.1 เรื่อง การบันทึกข้อมูลรายวัน กับกลุ่มตัวอย่างลงเครื่องคอมพิวเตอร์ โปรแกรมสำเร็จรูปบัญชี BC Account GL 2.0a 4. ตรวจแบบฝึกหัดครั้งที่ 2 ดำเนินตามขั้นตอน โดยลำดับขั้นตอนเหมือนครั้งที่ 1 5. ทำแบบฝึกหัดข้อ 3.7 เรื่อง การบันทึกข้อมูลรายวัน กับกลุ่มตัวอย่าง โดยเพิ่มคำสั่งให้ ออกรายงานงบทดลอง ตรวจผลการทำแบบฝึกหัดครั้งที่ 2 นำเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญเพื่อดูความ เหมาะสม และเพิ่มเติมในส่วนที่ยังไม่สมบูรณ์ นำคะแนนครั้งที่ 1 และคะแนนครั้งที่ 2 มาวิเคราะห์เพื่อเปรียบเทียบคะแนน

ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ตาราง การเปรียบเทียบคะแนนแบบฝึกหัด วิชาการบัญชีกับคอมพิวเตอร์ เรื่อง การบันทึกข้อมูล รายวันด้วยการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปบัญชี BC Account GL 2.0a ลงเครื่องคอมพิวเตอร์ กับการทำลงในกระดาษของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 สาขางานการบัญชี การทำแบบฝึกหัด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t Sig ทำลงในกระดาษ 12.80 2.08 - 22.22 0.00 ทำโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป บัญชี BC Account GL 2.0a 19.10 1.38 จากตารางพบว่าคะแนนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 สาขางานการบัญชี ที่ทำแบบฝึกหัดเรื่อง การบันทึกข้อมูลรายวัน ลงในกระดาษมีคะแนนเฉลี่ย 12.80 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2.08 คะแนน ส่วนคะแนนที่ทำแบบฝึกหัดด้วยการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปบัญชี BC Account GL 2.0a ลงเครื่องคอมพิวเตอร์ มีคะแนนเฉลี่ย 19.10 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.38 คะแนน ซึ่งคะแนนแบบฝึกหัดที่ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปบัญชี BC Account GL 2.0a ลงเครื่องคอมพิวเตอร์ สูงกว่าการทำแบบฝึกหัดด้วยกระดาษ

สรุปผลการวิจัย หลังจากการทำแบบฝึกหัดด้วยการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปบัญชี BC Account GL 2.0a ลงเครื่องคอมพิวเตอร์ มีคะแนนเฉลี่ย 19.10 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.38 คะแนน ซึ่งสูงกว่าการทำแบบฝึกหัดด้วย กระดาษ มีคะแนนเฉลี่ย 12.80 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2.08 คะแนน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.00