การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ
Advertisements

ห้องน้ำ/ห้องส้วม/ที่ปัสสาวะ
โดย วราภรณ์ ถาวรวงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ ศูนย์อนามัยที่๑.
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
โครงงาน เรื่อง. ปุ๋ยฟื้นฟูสภาพดิน จัดทำโดย 1. ด. ญ
งานผลิตปุ๋ยชีวภาพ เป็นการนำสิ่งเหลือใช้ในชีวิตประจำวันได้แก่เปลือกกล้วยนำมาผสมกับ หัวเชื้อจุลินทรีย์ และกากน้ำตาลในอัตราส่วน เปลือกกล้วย 2 กก.: เชื้อจุลินทรีย์
การผลิตเชื้อจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
ดำเนินการโดย สำนักงานเกษตรอำเภอวังม่วง อำเภอวังม่วง จังหวัด สระบุรี
Formulation of herbicides Surfactants
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
การผลิตไฟฟ้าจากขยะ โดยการฝังกลบขยะมูลฝอย
มาตรฐานสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง
การใช้จุลินทรีย์ EM ลดกลิ่นแอมโมเนียจากมูลสุกร
สถานที่ตั้ง : หมู่ที่ 7 ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
การบำบัดน้ำเสีย อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
การเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในบ่อซิเมนต์
การจัดการน้ำเสียจากฟาร์มสุกร โดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพ
กรณีศึกษาเทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสีย
อย่างถูกหลักสุขาภิบาล
โดย นางสาวสุพัสตรา เหล็กจาน สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น
การล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล
การควบคุมยุงพาหะนำโรคไข้มาลาเรีย
G Garbage.
การพิจารณาเลือกระบบบำบัดน้ำเสีย
โครงการอบรม เรื่อง การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว ดร. นันทพร พึ่งสังวร
องค์ความรู้น้ำส้มควันไม้ สายด่วนข้อมูลปฏิรูปที่ดิน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 24 สิงหาคม 2552
เรื่อง น้ำยาไล่แมลงวัน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
ปุ๋ยชีวภาพ Organicfertilizer
ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
การทำน้ำหมักสมุนไพรขับไล่แมลงในสวนผัก
การปลูกพืชกลับหัว.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 1. ระบบประปา 2. ระบบรวบรวมและบำบัดน้ำเสีย
การจัดการส้วมและ สิ่งปฏิกูลหลังภาวะน้ำลด
ในภาวะน้ำท่วมและหลังน้ำลด
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองราชบุรี
การจัดการองค์ความรู้ (KM) การทำนาข้าวโดยไม่เผาตอซัง
************************************************
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
การจัดการองค์ความรู้ เรื่องการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ และการป้องกันกำจัดศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน สถานที่ดำเนินการ บ้านวังบง หมู่ที่ 10 ตำบลนาด้วง อำเภอนาด้วง.
การคัดพันธุ์ข้าว โดย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนายทองเหมาะ แจ่มแจ้ง
การปลูกอ้อยสูตร 100 ตันต่อไร่
น้ำหมักปลาร้าปราบ เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง โดย นายอาสา ประทุมศาลา นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ.
การทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพในบ่อเลี้ยงปลาดุก
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
การจัดการความรู้ เรื่อง การใช้สารชีวภัณฑ์แทนการใช้สารเคมี
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
น้ำสกัดชีวภาพ BIOEXTRACT สารสารพัดประโยชน์ ครูไพฑูรย์ ศิริรักษ์
ความปลอดภัยในการใช้ก๊าซ
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
1.ด.ญ.ธนากร อยู่คง 3.ด.ช.วธัญญู อู่นาท 4.ด.ญ.วราภรณ์ เมืองแก้ว
น้ำมันรำข้าวและจมูกข้าว
การจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
กิจกรรมลดปริมาณขยะก่อนทิ้งในวิทยาลัย
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย
มาตรฐานการสุขาภิบาลอาหาร สำหรับโรงอาหาร
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
สถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่ายอาหาร
COMMUNITY BASED SOLID WASTE MANAGEMENT
โดย ครูติดแผ่นดินลำไย เชียงราย
กระบวนการจัดการมูลฝอย การฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme) ภาคผนวก ก การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme) เอนไซม์ คือ น้ำหมักชีวภาพชนิดหนึ่ง ได้จากการหมักผักและผลไม้ผสมกับน้ำตาลทรายแดง มีประโยชน์ในการใช้ดับกลิ่นเหม็นจากคอกเลี้ยงสัตว์ ห้องส้วม กองขยะ

วิธีทำ หัวเชื้อ ผักหรือผลไม้ 3 ส่วน น้ำตาลทรายแดง 1 ส่วน วิธีทำ หัวเชื้อ ผักหรือผลไม้ 3 ส่วน น้ำตาลทรายแดง 1 ส่วน น้ำสะอาด 10 ส่วน หมักในภาชนะปิดสนิท นาน 3 เดือน จะได้หัวเชื้อเอ็นไซม์เข้มข้น แยกเอากากออก เอาแต่ส่วนที่เป็นน้ำไปหมักต่อ

วิธีการต่อขยายหัวเชื้อ หัวเชื้อเข้มข้น 1 ส่วน น้ำตาลทรายแดง 1 ส่วน น้ำสะอาด 10 ส่วน หมักต่ออีก 3 เดือน สามารถนำไปใช้ได้ หรือจะขยายเชื้อด้วยวิธีนี้อีก 3-4 ครั้ง จะได้เอนไซม์ที่มีประสิทธิภาพดีขึ้น

การนำไปใช้ ใช้ฉีดพ่นหรือราดพื้นคอกสุกร อัตราการใช้ประมาณ 1 ลิตร/ตรม. ผสมเอนไซม์กับน้ำสะอาดในอัตรา 1:100 ใช้ฉีดพ่นหรือราดพื้นคอกสุกร อัตราการใช้ประมาณ 1 ลิตร/ตรม. ผสมน้ำให้สุกรกิน วิธีนี้ต้องให้น้ำแบบเติมทุกวัน เพราะเอนไซม์จะเสียถ้าสุกรกินไม่หมดในวันเดียว และเอนไซม์ที่ใช้ต้องผ่านการหมักและขยายเชื้อนานกว่า 1 ปี (ขยายเชื้อมากกว่า 3 ครั้ง)

ต้นทุนในการใช้เอนไซม์ รายละเอียด จำนวน ขนาดคอกสุกร (ขนาดปกติ) จำนวนสุกรที่เลี้ยง ระยะเวลาการเลี้ยงสุกรขุน 1 รอบ อัตราการใช้เอนไซม์ต่อน้ำสะอาด ปริมาณการใช้ 5 x 5 เมตร ตัว/คอก เดือน 1:100 1 ลิตร/ตรม. วันละ 1 ครั้ง

รายละเอียด จำนวน ค่าแรงงานในการดำเนินการฉีดพ่น ระยะเวลาที่ใช้ในการฉีดพ่น ต่อ 1 คอก ต้นทุนการใช้เอนไซม์ กรณีผลิตเอง กรณีซื้อหัวเชื้อ (80 บาท/ลิตร) บาท/ชั่วโมง นาที 15 บาท/ตัว-สุกรขุน 132.5 บาท/ตัว-สุกรขุน

ระบบกำจัดกลิ่นแบบชีวภาพ ชนิดไบโอฟิลเตอร์ (Biofilter) ภาคผนวก ข ระบบกำจัดกลิ่นแบบชีวภาพ ชนิดไบโอฟิลเตอร์ (Biofilter) ระบบกำจัดกลิ่นแบบชีวภาพ ชนิด ไบโอฟิลเตอร์ (Biofilter) เป็นระบบที่เหมาะสำหรับใช้ลดกลิ่นจากจุดกำเนิดที่มีการปล่อยออกเป็นจุดเดียว เช่น บ่อรวบรวมน้ำเสีย ท่อระบายก๊าซจากระบบบำบัดน้ำเสียแบบพลาสติกคลุมบ่อ (Covered Lagoon) ระบบบำบัดน้ำเสียแบบบ่อโดมคงที่ (Fixed Dome) ระบบบำบัดน้ำเสียแบบบ่อหมักรางและบ่อยูเอเอสบี (MC-UASB)

วัสดุอุปกรณ์ ท่อ PVC ขนาด 4 นิ้ว เจาะรูรอบปลายท่อยาว 10 ซม. ถังพลาสติก ขนาด 200 ลิตร (เส้นผ่าศูนย์กลาง 60 เซนติเมตร) ท่อ PVC ขนาด 4 นิ้ว เจาะรูรอบปลายท่อยาว 10 ซม. ตะแกรงแตนเลส หรือ ตาข่ายพลาสติก และกรวด สำหรับรองรับสารกรอง ดินเกษตรหรือปุ๋ยหมัก แกลบเผา และแกลบดิบ เครื่องเป่าอากาศ ขนาด 0.5 แรงม้า หรือ 700 ลิตร/นาที

ขั้นตอนการทำไบโอฟิลเตอร์ นำดินเกษตร (หรือปุ๋ยหมัก) ผสมกับแกลบเผา และแกลบดิบ ในอัตราส่วน 8:4:1 โดยน้ำหนัก พรมน้ำให้มีความชื้นประมาณร้อยละ 60-70 หมักไว้ 2 สัปดาห์ โดยต้อง พรมน้ำทุกวัน ประกอบตะแกรงสแตนเลส และท่อ PVC เข้ากับถังพลาสติก โดยใช้อิฐ หรือวัสดุอื่น ๆ รองรับตะแกรงสแตนเลส ให้มีความสูงจากก้นถัง 15 ซม. (แต่ต้องไม่ขัดขวางการไหลของอากาศ)

ใส่กรวดลงในถังพลาสติกให้สูงประมาณ 5 เซนติเมตร เพื่อรองรับสาร กรอง ไม่ให้หลุดร่วงจากตะแกรง นำสารกรองที่หมักแล้ว บรรจุในถังพลาสติกให้สูง ประมาณ 60 เซนติเมตร ต่อท่อรวมกลิ่นจากแหล่งกำเนิดผ่านเครื่องเป่าอากาศเข้ากับปลายท่อ PVC ด้านบน