การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Homeward& Rehabilitation system
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
พื้นที่รับผิดชอบของ นสค.
เป้าหมายการให้บริการและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
กรมการพัฒนาชุมชน พันธกิจ วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
จังหวัดนครปฐม.
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
การดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบบูรณาการ สู่
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
กลุ่มที่ 1.
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
จังหวัดนราธิวาส โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว

แนวคิด การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเป็นกระบวนการ ที่ต้องการลดหรือขจัดปัจจัยเสี่ยงที่มีผล กระทบต่อสภาวะสุขภาพของคนให้หมดไป

กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การค้นหากลุ่มเสี่ยง การวิเคราะห์และกำหนดปัจจัยเสี่ยง กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

แนวคิดและทฤษฎีทางพฤติกรรมสุขภาพ - แบบจำลองความเชื่อด้าน สุขภาพ - การมีส่วนร่วมของชุมชน - PRECEDE Framework

สภาพปัญหาที่พบ ปัจเจก ไม่ทราบสุขภาวะตนเอง ครอบครัว ไม่ทราบปัจจัยเสี่ยงของคน ใกล้ชิด ชุมชน วางแผนไม่สอดคล้องกับ ภาวะสุขภาพ

ทำอย่างไรจึงจะทำ ให้... ปัจเจก ทราบสุขภาวะตนเอง รับรู้ปัจจัยเสี่ยงของตนเอง ครอบครัว ทราบปัจจัยเสี่ยงของคนใกล้ชิด ชุมชน วางแผนได้สอดคล้องกับสภาพปัญหา เกิดการมีส่วนร่วมของชุมชน ชุมชนเอื้ออาทร

วิธีการ ขั้นตอนการค้นหากลุ่มเสี่ยง - จัดหน่วยบริการตรวจสุขภาพเคลื่อนที่ - สร้างกระแสให้เกิดความตื่นตัวใช้รถมาตกแต่งให้เป็นสี เหลืองและมีอุปกรณ์ครบเพื่อเป็นรถเคลื่อนที่ครบทุก อำเภอ - ใช้หลักเศรษฐศาสตร์เข้ามาช่วยในการจ้างงานบุคลากร ชั่วคราวเพื่อลดค่าใช้จ่ายระยะยาว

วิธีการ ขั้นตอนการวิเคราะห์และกำหนดปัจจัยเสี่ยง - พัฒนาโปรแกรมบันทึกข้อมูลตรวจสุขภาพ - แจ้งผลการตรวจสุขภาพให้ทราบโดยทันที - ให้คำแนะนำการปฏิบัติตนที่เกิดผลดีต่อ สุขภาพ

วิธีการ ขั้นตอนกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ - จำแนกปัจจัยเสี่ยงและวิเคราะห์เชิงระบาดวิทยา - นำข้อมูลสภาวะสุขภาพของประชาชนในเขต รับผิดชอบเสนอองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นเพื่อทราบ และพิจารณาหาแนวทางแก้ไข - จัดทำแผนพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยง

กลยุทธ์ในการขับเคลื่อนกระบวนการ ทีมงานมีศักยภาพ (อัตราการเข้าถึงบริการตรวจสุขภาพ 81.99%) ชาวบ้านได้เรียนรู้ (สนใจเข้ารับการตรวจ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม) ปลุกกระแสการดูแลสุขภาพ (โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 30 โครงการ) เกิดการทำงานแบบมีส่วนร่วม (ชาวบ้าน ผู้นำชุมชน อสม. บุคลากรสาธารณสุข) ชักชวน อบต.ให้ลงขัน (งบประมาณ,อำนวยความสะดวกในการตรวจ) มุ่งสร้างสรรค์ ชุมชนเอื้ออาทร

BMI เส้นรอบเอว BP Cholesterol FBS ผอม 7.49% ปกติ 77.92% ท้วม 12.30% อ้วน 2.29% เส้นรอบเอว ปกติ 85.48% เสี่ยง 14.52% BP ปกติ 86.57% เสี่ยง 7.58% สูง 5.63% สูงมาก 0.22% Cholesterol ปกติ 92.10% เสี่ยง 7.84% สูง 0.06% FBS ปกติ 86.42% เสี่ยง 9.49% สูง 4.09%

ปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จ ใช้การจัดการความรู้เป็นกระบวนการดำเนินงาน หน่วยตรวจสุขภาพเชิงรุกมีผลทำให้ประชาชนเข้าถึงบริการครอบคลุมมากยิ่งขึ้น

ปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จ 3. การพัฒนาระบบจัดเก็บข้อมูลที่ง่าย สะดวกในการใช้และสามารถแปรผลได้อย่างรวดเร็วทำให้ผู้รับบริการเกิดความสนใจเนื่องจากทราบผลตรวจทันทีและได้รับคำแนะนำที่เหมาะสมเป็นประโยชน์แก่ตนเองมากยิ่งขึ้น

ปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จ 4. ผู้บริหารให้ความสนใจในการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพและกำหนดเป็นนโยบายของจังหวัด 5. การดำเนินงานแบบรวมพลังเชิงรุกทำให้เกิดความร่วมมือด้านทรัพยากร เงินและอุปกรณ์จากหน่วยงานในชุมชน

กิจกรรมที่จะดำเนินการต่อ - การค้นหาปัจจัยเสี่ยง/กลุ่มเสี่ยง - จัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยงของชุมชนกำหนดเป้าหมายให้ดำเนินการโดยศูนย์สุขภาพชุมชนทุกแห่งอย่างน้อยแห่งละ 1 หมู่บ้าน - จัดเวทีแลกเปลี่ยนการเรียนรู้และนำเสนอผลงาน

ปัญหาอุปสรรค 1. ประชาชนไม่อยู่ในพื้นที่ เช่น ไปทำงานต่างจังหวัด 2. นโยบายการจัดสรรงบประมาณส่งเสริมสุขภาพที่เปลี่ยนแปลงของสำนักงานหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ามีผลกระทบต่อระบบการบริหารจัดการ

ปัญหาอุปสรรค 3. การตรวจสุขภาพเป็นการค้นหาปัจจัยเสี่ยงที่จำเป็นต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่องทุกปีเพื่อให้เกิดเป็นวิถีชีวิตในการดูแลสุขภาพของตนเอง ถ้าระบบงบประมาณมีการเปลี่ยนแปลงย่อมเกิดผลกระทบต่อการให้บริการได้