งานวิจัยในชั้นเรียน การแก้ปัญหานักศึกษา ในการทำโจทย์ระบบเลขฐานและลอจิกเบื้องต้นของนักศึกษา ระดับ ปวส.1 โดยใช้สื่อการสอน E-book เรื่อง ระบบเลขฐานสอง และระบบลอจิกเบื้องต้น.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
Advertisements

งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
ผู้วิจัย อาจารย์กัมพล ติปิน วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นาย ภัทราวุธ พิชาชญชัย วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิ เทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย นางสาวจินตนา เชื้อเมืองพาน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ วิชาไมโครคอนโทรเลอร์ โดยใช้สื่อการเรียนการสอนเรื่อง ไมโครคอนโทรลเลอร์ควบคุม 7 Segment สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.

นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
ความเป็นมา ในปัจจุบันเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทมากในชีวิตประจำวันแทบทุกด้าน รวมถึงด้านของการศึกษาด้วย ผู้เรียนส่วนใหญ่สามารถใช้คอมพิวเตอร์ได้ ผู้วิจัยจึงเห็นแนวทางที่จะพัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้มีความสอดคล้องกับเทคโนโลยีในปัจจุบัน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
นางสาวอัญชลี คำแปง วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นางสุทัศนีย์ พลเตชา ผลงานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
นายณัฐกร กันทะศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สมการกำลังสอง

นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นางสาวประพันธ์ศรี สมจันทร์ฉาย
วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
นางสาวแววดาว วงค์เรือน วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ทัศนคติของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อผู้วิจัย : นางสาวไอลดา วัฒนสิทธิ์
บท นำ ความ เป็นมา และ ความสำ คัญของ ปัญหา การเรียนการสอนที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน มี วัตถุประสงค์ประการหนึ่ง คือมุ่งปลูกฝังให้นักเรียน ได้ใฝ่รู้ใฝ่เรียนการปลูกฝังให้นักเรียนรักการอ่านจึงมี
***นำเสนอผลงานวิจัย***
เรื่อง การแก้ไขปัญหา นักศึกษา ชอ-302 โดย ว่าที่ร้อยตรี รุ่ง ดีคำป้อ
ปัญหาการวิจัย วิชา MIS เป็นวิชาที่เน้นทฤษฎีแต่ถูกจัดให้เรียนในห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ซึ่งนักศึกษาส่วนหนึ่งขาดความสนใจ เล่นเฟสบุ๊ค (Face book) ในขณะที่ครูสอนและทุกครั้งที่มีโอกาส.
คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์

นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
การพัฒนาทักษะการการปูเตียง ด้วยสื่อมัลติมีเดีย
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
ผู้วิจัย นายวราวุฒิ สาริกบุตร วิทยาลัย เทคโนโลยี ศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน วิชาหลักการจัดการ โดยใช้วิธีการ สอนแล้วสอบ ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส. 2/1 – 2/5 ) ปี การศึกษา.
ชื่อผลงานวิจัย : การพัฒนารูปแบบการเรียน การสอนผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัย.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
เรื่อง การพัฒนาทักษะการติดตั้งระบบเครือข่ายโดยใช้โปรแกรม VMware 8.0


การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาววัชรา เชื้อรามัญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
อริส ขวัญเสียงเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
การศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนการ สอนรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( ปวช. ) ชั้นปีที่ 1 กลุ่ม A11 และ A12.
นายวีรพล ยิ้มย่อง สังกัด วิทาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
โดย นายยิ่งเจริญ บุญยัง
นางสาวเกสรา ฉายารัตน์
ผู้วิจัย นางกรุณา อุประดิษฐ์
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศ เรื่อง การสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศ โดยใช้วิธีแผนที่ความคิด (Mind Map) ของนักศึกษาระดับ.
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งานวิจัยในชั้นเรียน การแก้ปัญหานักศึกษา ในการทำโจทย์ระบบเลขฐานและลอจิกเบื้องต้นของนักศึกษา ระดับ ปวส.1 โดยใช้สื่อการสอน E-book เรื่อง ระบบเลขฐานสอง และระบบลอจิกเบื้องต้น โดย นายวริทธิ์พล บุณยเดชาวรรธน์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่

ปัญหาในการวิจัย เนื่องจากทางแผนกวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศได้ทำสอนรายวิชา สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ ในรายวิชานี้ได้มีหน่วยหนึ่งที่จะต้องเรียนเรื่องเกี่ยวกับระบบเลขฐานและลอจิกเบื้องต้น ซึ่งนักศึกษาบ้างส่วนไม่เคยได้เรียน ทำให้นักศึกษาเข้าใจบทเรียนนี้ได้อยากและทำให้เข้าใจกระบวนการทำงานหรือการคำนวณของระบบเลขฐาน และลอจิกเบื้องต้น ดังนั้นผู้จัดทำวิจัยมีแนวคิดที่จะหาทางเพื่อให้นักศึกษาได้มีความเข้าใจได้มากขึ้น และทำให้นักศึกษาสามารถที่จะทำการเรียนในหน่วยนี้ด้วยความสนุกและไม่น่าเบื่อ จึงทำการสร้างแบบการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โดยการสร้างสื่อการเรียน ด้วยโปรแกรม Flip Album Sample ทำการสร้างเป็น E-Book เพื่อให้นักศึกษานำไปศึกษาและทำแบบฝึกหัดที่ทำการกำหนดให้ได้

วัตถุประสงค์ เพื่อให้นักศึกษาได้มีสื่อการเรียนที่สามารถนำไปศึกษาทำเข้าใจได้ด้วยตนเอง เพื่อให้นักศึกษาได้มีความเข้าใจในเนื้อหาและสามารถทำโจทย์ที่กำหนดให้ได้ เพื่อเป็นการปรับการเรียนการสอนโดยนำสื่อมาใช้ในการสอน

ตารางสรุปคะแนน ลำดับ รหัสนักศึกษา ชื่อ-สกุล ห้อง คะแนนสอบก่อนเรียน คะแนนสอบหลังเรียน 1 5320101 นางสาวเอ้ย อนุวงค์ IT-401 6 12 2 5520014 นายศักดา แก้วดวงสม 10 3 5520034 นายธนกร วงค์ษา 4 5520037 นายกิตติศักดิ์ วุฒิ 5 5520040 นายธีรวัฒน์ กันธะดา 5520041 นายกิตติ ยามาดา 7 5520043 นางสาวโสรยา ศรีเจริญ 16 8 5520049 นายอัศวเดช ต๊ะจันทร์ 9 5520050 นายไชยวัฒน์ ภู่รอด 5520054 นายขวัญบุรินท์ อินต๊ะ 14 11 5520056 นางสาวศศิธร ชิมตะครุ 5520057 นายนิติ อยู่สุข 13 5520059 นายพิสุทธิ์ มณีฉาย 5520061 นายพัฒพงศ์ อ้นคำ 15 5520065 นายศักรินทร์ สืบเครือ 5520071 นางสาวสหพร แก้วมา 17 5520072 นางสาวพัทราภรณ์ จี้ยะสถาน 18 5520087 นายชนะศักดิ์ ไทยสายธิ

ตารางประเมินสื่อการสอน ข้อ รายการประเมิน ระดับคะแนน ดีมาก ดี ปานกลาง น้อย ปรับ ปรุง 5 4 3 2 1 เร้าความสนใจ ให้เกิดการใฝ่รู้ ในเรื่องราวที่ต้องการศึกษา 45 32 ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนได้ง่าย และสามารถจดจำได้นาน 36 มีความถูกต้อง และสอดคล้องกับเนื้อหาวิชา สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การเรียนรู้ สอดคล้องกับกิจกรรม การเรียนการสอน 20 6 ช่วยให้ผู้เรียนได้ข้อสรุปที่ถูกต้อง 40 7 กระตุ้นให้เกิดกระบวนการคิด 28 8 มีความทันสมัย แปลกใหม่แตกต่างไปการเรียนปกติ 50 9 สะดวก ง่ายต่อการใช้งาน 10 เป็นสื่อที่ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ให้แก่ผู้เรียน ไม่ขัดต่อคุณธรรม และจริยธรรมที่พึงมี พึงปฏิบัติ 11 ช่วยเพิ่มพูนประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน 12 เหมาะสมกับวัย และระดับความยากง่ายของเนื้อหา 13 ส่งเสริมปฏิสัมพันธ์ทางสังคมระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน 14 ถูกต้องตามหลักการผลิตสื่อ 15 ถ่ายทอดเนื้อหาที่เป็นนามธรรมให้เป็นรูปธรรม 16 เพิ่มบทบาทผู้เรียนในการเป็นผู้ปฏิบัติ 17 ช่วยเชื่อมโยงความรู้เดิมกับกับความรู้ใหม่ 18 เป็นสื่อที่มีการประยุกต์ได้อย่างเหมาะสม 19 มีความคงทน สามารถนำกลับมาใช้ได้อีก คุ้มค่าต่อการใช้งาน ต้นในการผลิตทุนต่ำ  คะแนนที่ได้จากการประเมิน  935 620 39  คะแนนเต็มของแบบประเมิน  1800 1440 1080 720 360 คะแนนที่ได้จากการประเมินทั้งหมด 1594   คะแนนเต็มของประเมินทั้งหมด 5400 สรุปคะแนนความพึงพอใจที่ได้ คือ 4.43 คิดเป็นร้อยละ 88.60

ผลสรุปสำคัญ จากตารางคะแนนสอบก่อนและหลังเรียนนั้นสรุปได้ว่าสื่อสามารถช่วยให้นักศึกษาทำคะแนนหลังเรียนด้วยสื่อผลคะแนนดีขึ้น จากการที่ทำสื่อการสอนผลการประเมินความพึงพอใจคิดเป็นร้อยละ 88.60 อยู่ในระดับดี คือ 4.43 การสร้างสื่อการสอนนี้เห็นว่ามีความเหมาะสมและสามารถใช้งานได้ง่ายและสามารถศึกษาเข้าใจได้และสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง

สรุปผลการวิจัย จากการใช้สื่อการสอน E-Book เรื่อง ระบบเลขฐานสอง และระบบลอจิกเบื้องต้น ในการสอนนักศึกษาทำให้นักศึกษามีความเข้าใจในเรื่องระบบเลขฐานสอง และระบบลอจิกเบื้องต้น มากขึ้นเพราะนักศึกษาสามารถนำเนื้อหามาทำการทบทวนได้ในภายหลัง เพราะสื่อสามารถนำไปเปิดได้ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ของนักศึกษาได้ และสื่อมีผลการประเมินความพึงพอใจคิดเป็นร้อยละ 88.60 อยู่ในระดับดี คือ 4.43 และสื่อนี้สามารถทำให้นักศึกษาเข้าใจเนื้อหาได้มากขึ้น และสื่อนี้ยังมีเนื้อหาพร้อม VDO เพื่อให้นักศึกษาสามารถเข้าใจได้มากขึ้น

รูปภาพประกอบ

รูปภาพประกอบ

จบการนำเสนอ ขอบคุณครับ