พัฒนาการเด็กปฐมวัย & โครงการพัฒนาIQ EQ เด็กแรกเกิด-5 ปี สุภาณี กิตติสารพงษ์ งานสุขภาพจิต สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร
พัฒนาการรวมปกติเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2542, 2547, 2550 ร้อยละ พ.ศ.
พัฒนาการรวมปกติเด็กอายุ 1 - 3 ปี พ.ศ. 2542, 2547, 2550 พัฒนาการรวมปกติเด็กอายุ 1 - 3 ปี พ.ศ. 2542, 2547, 2550 ร้อยละ พ.ศ.
พัฒนาการรวมปกติเด็กอายุ 4 – 5 ปี พ.ศ. 2542, 2547, 2550 ร้อยละ พ.ศ.
น้ำหนักเทียบอายุเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2547, 2550 น้ำหนักเทียบอายุเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2547, 2550 ร้อยละ พ.ศ.
ส่วนสูงเทียบอายุเด็กปฐมวัย ปี 2547, 2550 ร้อยละ พ.ศ.
น้ำหนักเทียบส่วนสูงเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2547, 2550 ร้อยละ พ.ศ.
การส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ร้อยละ
ผู้เลี้ยงดูเด็กหลักกลางวัน ร้อยละ
วัตถุประสงค์ 1.พัฒนาเด็กแรกเกิด ถึงอายุ 5 ปี ให้รับการส่งเสริมพัฒนาการทุกด้าน บูรณาการภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง 2.พัฒนาพ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูเด็ก มีความรู้ ความเข้าใจวิธีการส่งเสริมพัฒนาการตั้งแต่แรกเกิด
เป้าหมาย 1. ศูนย์เด็กเล็ก จำนวน 5 แห่ง 2. พ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูเด็กแรกเกิด ถึงอายุ 5 ปี จำนวน 200คน มีความรู้ และเข้าใจ แนวทางส่งเสริมพัฒนาการเด็ก พ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูเด็กแรกเกิด ถึงอายุ 2 ปี จำนวน 20 คน/ 1 ศูนย์เด็กเล็ก พ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูเด็กอายุ 3 ถึงอายุ 5 ปี
ตัวชี้วัดผลสำเร็จ 1. พ่อแม่/ผู้เลี้ยงดูเด็กแรกเกิด-5 ปี มีแนวทางในการดูแลเรื่องพัฒนาการเด็ก 2.พ่อแม่/ผู้เลี้ยงดูเด็ก แรกเกิด-5 ปีมีทักษะการดูแลด้านสุขภาพ การใช้หนังสือ การเล่น เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 3.เด็กได้รับการดูแลเรื่องพัฒนาการ และมีพัฒนาการสมวัย
การพัฒนาเด็กเพื่อให้มีคุณภาพ เก่ง ดี มีสุข ความต่อเนื่องตามขั้นตอน และวัย ระยะ 9 เดือนในครรภ์ ทารก วัยเด็ก วัยรุ่น 13
การพัฒนาเด็กเพื่อให้มีคุณภาพ เก่ง ดี มีสุข ขั้นตอนการเรียนรู้ที่จะก่อให้เกิดการพัฒนาศักยภาพ ทุกด้าน มีทิศทาง เป็นระบบ © copyright 2548 พรรณี แสงชูโต จัดทำ และออกแบบ โดย น.ส. ณัฐชานันท์ วิวัฒนขจรสุข 14
15
2 ก 2 ล กิน เล่า กอด เล่น 16
เตรียมความพร้อม เข้าใจพัฒนาการตามวัย สร้างบรรยากาศสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ตั้งเป้าหมายการฝึกฝน 09/04/60 17
บทบาทของครอบครัว ความสำคัญด้านการเลี้ยงดู ความสำคัญด้านการศึกษา อบรมให้เป็นคนดี ทำนุบำรุงจิตใจ แก้ไขปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ความฉลาดทางปัญญา และ ความฉลาดทางอารมณ์
ไอคิว (ความฉลาดทางปัญญา) : ความเฉลียวฉลาดทางสติปัญญา เกิดจาก: พันธุกรรมและจากการเลี้ยงดู
อีคิว (ความฉลาดทางอารมณ์) อีคิวดี : รู้จัก และเข้าใจ อารมณ์ตัวเองได้ รู้จักแยกแยะ ควบคุมอารมณ์ สามารถแสดงอารมณ์ได้ถูก ตามกาลเทศะ
ไอคิว อีคิว สำเร็จในชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่าง ไอคิวและอีคิว เด็กที่ฉลาด + ดี เก่ง สุข เด็กปรับตัวได้ดี รับมือกับปัญหาได้ จากการวิจัย พบว่า คนที่ประสบความสำเร็จในชีวิต อีคิวมักจะนำไอคิว จึงต้องควรพัฒนาไปพร้อมๆ กัน
สิ่งสำคัญของการเรียนรู้ Dendrites Learning occurs through connections among neurons, with the formation of networks Axon เส้นใยประสาท
เลี้ยงเด็กอย่างไรให้มีอีคิวดี การเป็นต้นแบบที่ดี
ต้นแบบทำดี คิดดี
*การเรียนรู้จากตัวแบบ ของหนูน้อยอนุบาล 1 *สำหรับเด็กอนุบาล 2 ทุกข้อมูลที่สั่งสมไว้ เริ่มมีการเชื่อมโยงเข้าหากันมากขึ้น *อนุบาล 3 มีความพร้อมที่จะเรียนรู้ ด้วยการลงมือปฏิบัติเพื่อให้เข้าใจสิ่งต่างๆ ด้วยตัวเองมากขึ้น
* วัยประถมตอนต้น พร้อมแลกเปลี่ยน
1) 2) 3)
เทคนิค 5 ประการ เพื่อสร้างความฉลาดทางอารมณ์ของเด็ก เทคนิค 5 ประการ เพื่อสร้างความฉลาดทางอารมณ์ของเด็ก ด้วยรักและเข้าใจ
เทคนิค 5 ประการ เพื่อสร้างความฉลาดทางอารมณ์ของเด็ก เทคนิค 5 ประการ เพื่อสร้างความฉลาดทางอารมณ์ของเด็ก เรียนรู้ร่วมกัน
เทคนิค 5 ประการ เพื่อสร้างความฉลาดทางอารมณ์ของเด็ก เทคนิค 5 ประการ เพื่อสร้างความฉลาดทางอารมณ์ของเด็ก ไม่ปิดกั้นความรู้สึก
เทคนิค 5 ประการ เพื่อสร้างความฉลาดทางอารมณ์ของเด็ก เทคนิค 5 ประการ เพื่อสร้างความฉลาดทางอารมณ์ของเด็ก ใช้โอกาสให้เกิดประโยชน์
เทคนิค 5 ประการ เพื่อสร้างความฉลาดทางอารมณ์ของเด็ก เทคนิค 5 ประการ เพื่อสร้างความฉลาดทางอารมณ์ของเด็ก เรื่องธรรมดาที่ต้องพอดี
การประเมินอีคิว มี 3 ด้าน คือ ดี เก่ง สุข มี 3 ด้าน คือ ดี เก่ง สุข ประเมินในช่วง 4 เดือนที่ผ่านมา ผู้ประเมินจะต้องรู้จักเด็ก หรือคุ้นเคยกับเด็กไม่น้อยกว่า 6 เดือน ไม่ควรนำผลการประเมินไปเปรียบเทียบกับเด็กอื่น
แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) สำหรับ พ่อแม่/ผู้ปกครอง สำหรับครู/ผู้ดูแลเด็ก
แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ (EQ)
แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ (EQ)
แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ (EQ)
“การพัฒนาอีคิว จะทำให้เด็กอยู่กับคนอื่นได้ดี มีความสุข และประสบความสำเร็จในชีวิต” มีความสุขจริงๆ คร้าบบ
สวัสดี