แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตามกลุ่มวัย เด็กวัยเรียน 5-14 ปี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงงาน เรื่อง การมีเพศสัมพันธ์ก่อนอันสมควร
Advertisements

สรุปผลการประชุม สถานะสุขภาพ
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ. เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
รายงานเรื่อง เด็กปลอด
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
อนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น จังหวัดจันทบุรี
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
และอนามัยสิ่งแวดล้อม
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
สถานการณ์ไข้เลือดออก จังหวัดสุรินทร์
อุทัยวรรณ สกลวสันต์ พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลน่าน
แผนภูมิแสดงช่วงอายุข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ สำนักเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร.
สาเหตุการเสียชีวิตผู้ป่วยปอดบวม จังหวัดเพชรบุรี ปี 2555.
ปัญหา เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โดย ทันตแพทย์หญิงภารณี ชวาลวุฒิ โรงพยาบาลสวนปรุง
แนวทางการดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน
- ร่าง - แบบรายงานผลการดำเนินงานของจังหวัดตามนโยบายรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
คู่มือการจัดทำแผนปฏิบัติการ ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน
อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
การดำเนินการของ นักวางแผนเชิงกลยุทธ์ ด้านสุขภาพ ร่วมกับ สนย.
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ระบาดวิทยาและ SRRT.
ประชุมคณะกรรมการ ประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ปีงบประมาณ 2557 วันที่ 15 ตุลาคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมทองกวาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
ปี 2549 จากประชากรทั้งสิ้น ล้านคน เป็นผู้มีงานทำ ล้านคน
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
ต้นน้ำ : ฟาร์มปศุสัตว์ ฟาร์มสัตว์น้ำ แปลงเพาะปลูก
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ความสำเร็จของการทำงานอนามัยแม่และเด็ก
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
อนาคตระบบบริการสุขภาพ
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
CBL ภูหลวง.
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
สกลนครโมเดล.
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
แนวทางการดำเนินงาน วัยเรียน กรมสุขภาพจิต
ทันตสาธารณสุข นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Functionปี 54
การพัฒนาสุขภาพ : กลุ่มเด็กวัยเรียน
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และ ทิศทางการดำเนินงานปี 2558
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
โครงการนำร่องการลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิด โรคหัวใจและหลอดเลือด
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ตัวชี้วัดผลงาน 1. มีการคณะกรรมการ หรือ คณะอนุกรรมการ.
กรอบประเด็น คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
โครงการการดำเนินงานการจัดกิจกรรม เพื่อ พัฒนาทักษะชีวิต ประจำปีงบประมาณ 2555 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตามกลุ่มวัย เด็กวัยเรียน 5-14 ปี แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตามกลุ่มวัย เด็กวัยเรียน 5-14 ปี กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.เลย

ประเด็นปัญหาที่พบ ร้อยละของเด็กวัยเรียน มีภาวะเริ่มอ้วน และอ้วน จังหวัดเลย คิดเป็นร้อยละ 4.57

เป้าประสงค์ เด็กวัยเรียน สุขภาพดี (กายใจ สังคม สติปัญญา) เด็กวัยเรียน สุขภาพดี (กายใจ สังคม สติปัญญา) มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ

กลวิธีการดำเนินงาน พัฒนาโรงเรียนสุขภาพ ส่งเสริมสุขภาพแนวใหม่ โดยเน้นหนัก องค์ประกอบด้านอาหาร การออกกำลังกาย การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน สุขภาพส่วนบุคคล และกิจกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน (ชมรม ,ชั่วโมงโฮมรูม) ในเด็กนักเรียนที่มีภาวะผิดปกติได้รับส่งต่อเข้า คลินิกDPAC มีแผนและวาระการประชุมพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียน และสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพเด็ก ใน dHs ขับเคลื่อนการดำเนินงาน โดย child manager

กลวิธีการดำเนินงาน 3. การจัดบริการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค การตรวจสุขภาพ /เฝ้าระวังภาวะสุขภาพนักเรียน ทันตสุขภาพ วัคซีน เด็ก ป1.ทุกคนได้รับการตรวจสายตา และการได้ยิน เด็กที่มีปัญหาผิดปกติได้รับการช่วยเหลือทุกราย 4 พัฒนาโรงเรียนต้นแบบแก้ไขภาวะอ้วนในเด็กนักเรียน 5. พัฒนาศักยภาพในการดำเนินงานอนามัยโรงเรียนแก่ผู้บริหาร และครูอนามัยโรงเรียน

กลวิธีการดำเนินงาน 6. พัฒนาศักยภาพแกนนำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพ 7 กลวิธีการดำเนินงาน 6.พัฒนาศักยภาพแกนนำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพ 7.ขับเคลื่อนนโยบายส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียน 8.พัฒนาอาหารปลอดภัย ปลอดโรคในโรงเรียน

ความสำเร็จของการป้องกันการจมน้ำเสียชีวิตในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ไม่เกิน 6.5 ต่อแสนประชากร อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ปี 2554 จำนวน 23 ราย = 19.38 ต่อแสนประชากร ปี 2555 จำนวน 11 ราย = 9.2 ต่อแสนประชากร ปี 2556 จำนวน 9 ราย = 7.6 ต่อแสนประชากร

การดำเนินงาน ขั้นตอนที่ 1 โรงพยาบาลทุกระดับมีคณะทำงานในการดำเนินงานป้องกัน การจมน้ำเสียชีวิตในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีและนำข้อมูลการจมน้ำ ในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีมาวิเคราะห์ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ขั้นตอนที่ 2 จัดทำแผนการการดำเนินงานป้องกันการจมน้ำเสียชีวิตในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีระดับอำเภอ ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ขั้นตอนที่ 3 มีการให้ความรู้การปฐมพยาบาลเบื้องต้นแก่สถานศึกษา ศูนย์เด็กเล็ก กรณีเด็กจมน้ำ ขั้นตอนที่ 4 มีการประเมินผลการดำเนินงานป้องกันการจมน้ำเสียชีวิตใน เด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ขั้นตอนที่ 5 มีการสรุปรายงานผลการดำเนินงานป้องกันการจมน้ำเสียชีวิตในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ส่งสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทุกไตรมาส