ยางพารา.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีใหม่.
Advertisements

เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อทบทวนแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด 4 ปี (พ.ศ – 2561) ของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2556.
เศรษฐกิจ พอเพียง.
กินอย่างถูกหลัก ลดน้ำหนักอย่างถูกวิธี
สำนักงานเกษตรอำเภอปลวกแดง
ทะเบียนเกษตรกร กรมส่งเสริมการเกษตร.
กรมปศุสัตว์ เป็นหน่วยหลัก
ดำเนินการโดย สำนักงานเกษตรอำเภอวังม่วง อำเภอวังม่วง จังหวัด สระบุรี
เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ คชก.
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพ
ชื่อ นางสาว สุนิสา แก้วจารนัย
เกษตรตามแนว ทฤษฏีใหม่
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
โครงการเร่งรัฐปฏิบัติการด่วน (เพื่อคนไทย) หรือโครงการปฏิบัติการประชาวิวัฒน์ ยุทธศาสตร์การสร้างระบบเศรษฐกิจที่เท่าเทียมและเป็นธรรม.
โครงการยกระดับมาตรฐานฟาร์มเพาะเลี้ยงปลานิลเพื่อการส่งออก
การขับเคลื่อนภาคการเกษตร สู่ประชาคมอาเซียน
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค
อุตสาหกรรมเด่นของไทย มูลค่าส่งออก (ล้านบาท)
การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
รายละเอียด แผ่น CD Folder 1 KM เอกสารชุดความรู้ สตน. ๒๕๕๓ รวม ๑๓ บท และ เอกสารอ้างอิง ( ๓๐๙ หน้า ) Folder 2 KM ชุดนำเสนอ ( Power Point.
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
แผนที่ตำบลหนองไฮ อำเภอเสนางคนิคม จังหวัดอำนาจเจริญ
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
ของดีศรีสำโรง นำเสนอ...โดย นายศรัณยู ยุบล นายทำนุ ร้อยกรอง
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
ไทยได้ประโยชน์อะไร จากการเปิดเสรีอาเซียน-จีน
การส่งเสริมการเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ชาติ สังคมศึกษา
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
สภาพทางเศรษฐกิจ ใน ยุโรป.
สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
3 September องค์กร เกษตรกร การผลิต ปัจจัยพื้นฐา น - ดิน - น้ำ - แรงงาน ปัจจัยการผลิต - พันธุ์ - เทคโนโลยี การใส่ปุ๋ย การป้องกันโรค.
น.ส.ผาณิตดา แสนไชย รหัสนักศึกษา
โครงการกลุ่มจังหวัด ๕๕ มิติภาคการเกษตร
วัชพืชที่สำคัญในนาข้าว และการป้องกันกำจัด
รูปแบบ/ประเภทเกษตรกรรมยั่งยืน และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
การป้องกันไฟไหม้สวนยางในฤดูแล้ง
วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเพิ่มพูนความรู้เรื่องการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานให้กับเกษตรกร ๒.เพื่อให้เกษตรกรสามารถจัดการศัตรูพืชได้ด้วยตัวเองอย่างยั่งยืน.
พี่น้องปุ๋ยหมักโบกาชิ
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดกระบี่ (พืชสวน)
โครงการส่งเสริมการใช้ปุ๋ย เพื่อลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกร
เท่าเดิม ลดลง เพิ่มขึ้น เท่าเดิม ลดลง การเพิ่ม-ลดของสมาชิกกลุ่ม
น้ำหมักปลาร้าปราบ เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง โดย นายอาสา ประทุมศาลา นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ.
ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.)
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตพืชเศรษฐกิจ (สับปะรด)
โดย...นายประเสริฐ ดอยลอม หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ
งานวิจัยภาควิชาพืชไร่
ภายใต้ความตกลงอาเซียน
น้ำสกัดชีวภาพ BIOEXTRACT สารสารพัดประโยชน์ ครูไพฑูรย์ ศิริรักษ์
องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
กิจกรรมเพิ่มผลผลิตสัตว์ น้ำ กลุ่มบริหารจัดการด้าน การประมง.
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
ระบบเกษตรแบบผสมผสาน.
การพัฒนาระบบการผลิตไก่พื้นเมืองฯ เพื่อสร้างโอกาส
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าใช้จ่าย
เพื่อช่วยหาความสัมพันธ์ของ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และกำหนด เขตของพื้นที่เป้าหมาย และ ขอบเขตงาน รูปแบบ เดิม แผ่นใส ซ้อนทับ ปัจจุบัน GIS.
กลุ่มสับปะรด 1. นายนิวัต ใจรินทร์ สนง.กษจ.ลำปาง(ประธาน )
ทิศเหนือติดต่อกับ ตำบลพิตเพียน อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทิศใต้ติดต่อกับตำบลเจ้าปลุก อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทิศตะวันออกติดต่อกับอำเภอดอนพุด.
การวิจัย และองค์ความรู้จากโครงการหลวง
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก จัดทำโดย ด.ช.พงศ์ธนัช เสนอ อ.มุทิตา หวังคิด.
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ Project Feasibility
ผลการดำเนินงานวิจัยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดตรัง
การเขียนรายงานผล การดำเนินงานตามระบบส่งเสริมการเกษตรมิติใหม่ (MRCF)
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ยางพารา

ปริมาณการผลิตยางพาราของโลก

ปริมาณการส่งออกยางพาราของโลก

ปริมาณการส่งออกยางพาราของไทย

การผลิตและการใช้ยางพาราของกลุ่มประเทศอาเซียน+3 เนื้อที่ยืนต้น ผลผลิต การใช้ นำเข้า ส่งออก 55 56 ไทย 18.5 18.7 3.78 4.01 0.50 0.52 0.001 3.12 3.48 กัมพูชา 1.75 1.71 0.06 0.08 0.09 อินโดนีเซีย 21.78 21.83 3.04 3.18 0.55 0.60 0.03 0.02 2.53 2.72 ฟิลิปปินส์ 1.12 1.19 0.11 0.07 0.04 เวียดนาม 5.69 5.75 0.86 0.95 0.15 0.30 0.27 1.02 1.07 มาเลเซีย 6.51 6.67 0.92 0.90 0.46 0.45 0.87 1.34 จีน 6.94 7.29 0.79 0.85 3.83 4.15 3.37 3.85 0.01

ปัญหาการส่งเสริมยางพาราในพื้นที่ เกษตรกรมีความเชื่อมั่นในพันธุ์ยางดั่งเดิม คือ RRIM600 เมื่อไปส่งเสริมทำให้ไม่ยอมรับพันธ์ใหม่ โรคยางพารา : รากขาว เส้นดำ ไฟทอปเทอร่า ขาดการแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่า (ยางก้อนถ้วย/เศษยาง/น้ำยางสด) การปลูกพืชเชิงเดียว (สวนเดี่ยว) การกรีดยางต้นเล็ก/กรีดถี่/กรีดไม่ถูกต้อง ขาดแคลนแรงงาน ค่าจ้างแรงงานสูง แรงงานไม่มีฝีมือ ขาดการจัดการสวนที่ถูกหลักวิชาการ เกษตรกรปลูกยางในพื้นที่ไม่เหมาะสม (ปลูกยางในพื้นที่นา/ป่าหรือพื้นที่ไม่มีเอกสารสิทธิ์) ปัจจัยการผลิตราคาสูง (ปุ๋ย, สารเคมี) ปัญหาทางด้านสังคม เช่น การลักขโมยผลผลิต ต้นพันธุ์ด้อยคุณภาพ

แนวโน้มการเพิ่ม/ลดพื้นที่ปลูก ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แนวโน้มของพื้นที่ปลูกยางพาราจะเพิ่มขึ้นอย่างช้า ๆ เนื่องจาก การผันแปรของราคาผลผลิต และ ราคาที่ดินมีมูลค่าสูงขึ้น ภาคตะวันออกและภาคตะวันตก แนวโน้มของพื้นที่ปลูกยางพาราจะมีอยู่จำกัด เนื่องจากพื้นที่ของภาคมีอยู่จำกัด ภาคใต้ แนวโน้มของพื้นที่ปลูกยางพาราจะลดลง เนื่องจากเกษตรกรเปลี่ยนแปลงไปปลูกปาล์มน้ำมันและไม้ผล

แนวโน้มการเพิ่ม/ลดพื้นที่ปลูก

ต้นทุนการผลิตยางพารา/ไร่ อีสาน เหนือ ใต้ ตะวันออก ตะวันตก ต้นทุนการผลิตยางพารา/ไร่ (แรกปลูก – ๗ ปี) ๑. ค่าพันธุ์ (๘๐ ต้น) ๔,๐๐๐ (๕๐บ./ต้น) ๔,๘๐๐ (๖๐บ./ต้น) ๓,๒๐๐ (๔๐บ./ต้น) ๒,๔๐๐ (๓๐บ./ต้น) ๓. ค่าปรับพื้นที่ (ไถบุกเบิก) ๒,๕๐๐ ๕,๐๐๐ ๔. ค่าปุ๋ย อัตรา ๒,๔๐๐ บ./ปี x ๒ ปี ๑๖,๕๐๐ ๕. แรงงาน (๓,๐๐๐บ./ปี x ๗) ๒,๑๐๐ ๖. สารเคมีและอื่น ๆ ๓,๕๐๐ รวม ๑-๖ ๒๘,๖๐๐ ๓๑,๙๐๐ ๓๐,๓๐๐ ๒๗,๐๐๐ ต้นทุนการผลิตยางพารา/ไร่ (หลังเปิดกรีด) ๗. ค่าปุ๋ย ๓,๗๐๐ ๘. ค่ายารักษาโรค/กำจัดวัชพืช/แนวกันไฟ ๑๕๐ ๙. ค่าแรงงาน ๘,๐๐๐ ๑๐.อื่น ๆ –อุปกรณ์เปิดกรีด ๑,๐๐๐ รวม ๗-๑๐ ๑๒,๘๕๐ รวม ๑-๑๐ ๔๑,๔๕๐ ๔๔,๗๕๐ ๔๓,๑๕๐ ๓๙,๘๕๐

แนวทางการส่งเสริม -เชิงรุก ต้นน้ำ การลดต้นทุนการผลิต ด้านแรงงาน พัฒนาศักยภาพฝีมือการกรีดยางของแรงงานกรีดยาง เพื่อให้ได้ผลผลิตมากขึ้น และหน้ากรีดไม่เสียหาย ด้านปัจจัยการผลิต ร่วมกลุ่ม/เครือข่าย ผลิตปุ๋ยใช้เองตามค่าวิเคราะห์ดิน เพื่อลดการสูญเสียปุ๋ยและได้ปุ๋ยราคาถูกกว่าท้องตลาด เสริมรายได้แก่ชาวสวนยาง ส่งเสริมการปลูกพืชแซมในสวนยาง เช่น ถั่วลิสง พืชตระกูลถั่ว (ไซโตซิม่าหรือฮามาต้า) กล้วย สับปะรด ข้าวไร่ ฯลฯ ส่งเสริมการปลูกพืชร่วมในสวนยาง เช่น หน้าวัว ผักเหรียง ฯลฯ ส่งเสริมการเลี้ยงสัตว์ปีกในสวนยาง เช่น ไก่ เป็ด กลางน้ำ ส่งเสริมการรวมกลุ่มของชาวสวนยางเพื่อการแปรรูปผลผลิต เพิ่มความหลากหลายของรูปแบบการจำหน่ายผลผลิต เช่น น้ำยางสด น้ำยางข้น ยางก้อนถ้วย ยางแผ่น(ดิบ,รมควัน) ยางเครพ ยางแท่ง รวมกลุ่มสร้างเครือข่ายผู้ผลิตยางอย่างยั่งยืน ผลิต/แปรรูปตามความต้องการของตลาด การตลาด แหล่งรับซื้อผลผลิตในพื้นที่ จัดตั้งตลาดกลางยางพารา ปลายน้ำ กำหนดนโยบายระดับประเทศ ส่งเสริมอุตสาหกรรมยางในประเทศให้มีการใช้ยางมากขึ้น ส่งออกวัตถุดิบให้น้อยลง ส่งเสริมการใช้ยางธรรมชาติเป็นส่วนผสมในการสร้างถนน Brand สร้างอัตลักษณ์ของยางประเทศไทย-ยางไทยคุณภาพดี

แนวทางการส่งเสริม -เชิงรับ เกษตรกรบางรายปรับเปลี่ยนพื้นที่ปลูกยางเดิม เพื่อปลูกพืชเศรษฐกิจอื่น เช่น ปาล์มน้ำมัน ไม้ผล ปรับปรุงพันธุ์ยางพาราที่มีความต้านทานโรคและให้ผลผลิตสูง ภาครัฐติดตามความเคลื่อนไหวสถานการณ์ยางพาราโลก เผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ข้อมูลสถานการณ์ยางพาราให้เกษตรกรรับรู้ข้อมูลข่าวสารอย่างทั่วถึง