หลักเกณฑ์ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานภาคสนาม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ
Advertisements

การเบิกค่าใช้จ่ายสำหรับการฝึกอบรมและ การประชุมราชการ
การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติการยืมเงินทดรองจ่ายเงินรายได้
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
ค่าเบี้ยประชุม สำนักงานตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สำนักงานตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
04/04/60 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
โดย นายโอภาส เขียววิชัย ที่ปรึกษาด้านระบบบริหาร
โครงการพัฒนา (Cross Function) กลุ่ม Tsunami2.
เครือข่ายวิชาชีพห้องสมุด
ชื่อกลุ่ม งานเสร็จไว สบายใจลูกค้า
งานทรัพยากรบุคคล การปรับเปลี่ยนการดำเนินการ ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
การจัดการกระบวนการภายในเพื่อโครงการทดลองจ่ายค่าตอบแทนตาม ผลการปฏิบัติงาน โรงพยาบาลพาน.
การเตรียมการเพื่อการจ่ายค่าตอบแทนตามภาระงาน
สรุปการเบิกจ่าย ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ
1 2 ตามลักษณะ เศรษฐกิจ งบประมา ณ ตาม พ. ร. บ. ( ล้าน บาท ) ได้รับ จัดสรร ( ล้าน บาท ) เบิกจ่าย ร้อย ละ / งบ จัดสร ร สำนัก ชลประทานที่ 13 1,164,64 0,305.
ที่มา : ข้อมูลจากกรมบัญชีกลาง
การจ้างลูกจ้างชั่วคราว
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุและแต่งตั้งเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครูผู้ช่วย กรณีที่มีความจำเป็นหรือมีเหตุพิเศษ 1.
ข้อควรจำและปัญหาที่ พบบ่อยๆ ทั่วไป 1. ต้องปรับหน้าจอเป็น 1024 x 768 pixels โดยเฉพาะ Explorer7 2. โรงเรียน หรือ สพท. ที่ไม่สามารถเข้าประชุม ได้ให้ติดตามรายละเอียดย้อนหลัง.
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
การให้ข้าราชการพลเรือนสามัญได้รับ เงินประจำตำแหน่ง
ที่ปรึกษาด้านระบบบริหาร ณ โรงแรมเจริญธานี ปริ๊นเซส จังหวัดขอนแก่น
หลักเกณฑ์ และ ระเบียบการเงิน สำหรับเครือข่าย iTAP
การยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามระเบียบพัสดุ
การจัดเก็บข้อมูลภูมิปัญญา
ข้อมูลค่าซ่อมแซมยานพาหนะ ( ) สำหรับรถยนต์อายุการใช้งาน 14 ปีขึ้นไป
ส่วนฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์
รายงานสถานภาพงบประมาณ
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มาตรการรับจำนำข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2554/55
ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
พระราชบัญญัติ คุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 4) พ. ศ
ปัญหา ช่องว่างค่าตอบแทน เมื่อเทียบกับสาธารณสุข กทม. เอกชน
การซ้อมแผนไข้หวัด ๒๐๐๙ ในโรงเรียน. เป้าหมายของการประชุมกับ โรงเรียน คุณครู..... ได้รับความรู้และเกิดความตระหนักต่อ ปัญหาของไข้หวัด 2009 จากการบรรยาย (
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ และเลื่อนขั้นค่าจ้างลูกจ้างประจำ
สรุปการประชุม เขต 10.
1. ปรับปรุงคณะทำงานให้ครอบคลุมทุกหน่วยงาน 2. ปรับการทำงานให้สอดคล้องกับนโยบายของ สำนักและกรม ฯ 3. สรุปบทเรียนการทำงาน ปี จัดทำแผนการปฏิบัติงานปี
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
สำนักงานเกษตรอำเภอนาด้วง จังหวัดเลย
ความเป็นมา จัดตั้งตามคำสั่งกรมส่งเสริม การเกษตรที่ 384/2548 ตั้งสำนักงานเลขานุการ คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจ ชุมชน และเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน เพื่อ รองรับภารกิจตามพระราชบัญญัติ
ข้อบังคับองค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ว่า ด้วย การไปศึกษา ฝึกอบรม หรือดูงาน พ. ศ “ ผู้ปฏิบัติงาน ” หมายความว่า พนักงาน พนักงานสัญญาจ้าง พนักงานปฏิบัติการ.
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
การเบิกจ่ายเงินช่วยเหลือค่าอาหารบุคลากรในการเดินทางไปปฏิบัติงานนอกเขตที่ตั้งที่ทำการ(จากเงินรายได้ของหน่วยงาน)
เรื่องใหม่ที่จะเกิดขึ้น
ข้อบังคับองค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ ว่าด้วย ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม พ. ศ
รายงานผลการ ดำเนินงาน และผลการใช้จ่ายเงิน งบประมาณ ไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2553 “ กลุ่มตรวจสอบภายใน ” โดย นางละเอียด เอี่ยมสุวรรณ รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการกลุ่มตรวจสอบภายใน.
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
ระเบียบ ก.พ. ว่าด้วยเงินเพิ่มสำหรับตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษ ของผู้ปฏิบัติงานด้านการสาธารณสุข พ.ศ. 2548
แนวนโยบายของภาครัฐในการสนับสนุน การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางการจัดสรร งบค่าบริการแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
ณ ห้องประชุมทันตสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
สรุปประเด็นข้อตรวจพบ
การใช้จ่ายเงินในการแข่งขันกีฬา (1)
หลักเกณฑ์การรับ-จ่าย-การจัดทำบัญชี
โครงการอบรมสร้างเสริมประสบการณ์บุคลากร รพ. สต
หลักเกณฑ์และเงื่อนไข การเลื่อนเงินเดือนประการอื่น ๆ
การปรับเปลี่ยนลูกจ้าง ชั่วคราวเข้าสู่การเป็น พนักงานกระทรวง สาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักเกณฑ์ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานภาคสนาม

งานโครงการหลวงบ้านวัดจันทร์, งานสถาบันคชบาลแห่งชาติ กลุ่ม 1 งานสวนป่า, งานโครงการหลวงบ้านวัดจันทร์, งานสถาบันคชบาลแห่งชาติ ในพระอุปถัมภ์ฯ

ขอบข่ายงานสวนป่าที่มีสิทธิ์ ได้รับค่าตอบแทน 1.1 งานในสวนป่า (ภาคสนาม) ยกเว้น งานประจำสำนักงาน 1.2 งานของสถาบันคชบาลแห่งชาติ ในพระอุปถัมภ์ฯ เฉพาะผู้ที่ปฏิบัติงาน หน้าที่ควาญช้าง 1.3 งานอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย อาทิเช่น การติดต่อประสานงาน ประชุม กับหน่วยงานภายนอก หรือภายใน หน่วยงานเอง

ต้องมีเวลาปฏิบัติงานในแต่ละเดือน ไม่น้อยกว่า 15 วัน จึงจะมีสิทธิ์ ดังนี้ 2.1 มีเวลาปฏิบัติงานตั้งแต่ 15 - 23 วัน จ่ายค่าตอบแทนครึ่งหนึ่ง 2.2 มีเวลาปฏิบัติงานตั้งแต่ 24 วัน ขึ้นไป จ่ายค่าตอบแทนเต็มจำนวน

3.การกำหนดค่าตอบแทนการปฏิบัติงานภาคสนาม ไม่นับวันหยุดพักผ่อน ลาป่วย ลากิจ 4.ในกรณีที่ต้องเดินทางไปปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามข้อบังคับองค์การ อุตสาหกรรมป่าไม้ ว่าด้วย ค่าใช้จ่าย ในการเดินทางไปปฏิบัติงาน(ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2551

จำนวนค่าตอบแทน (บาท/เดือน) กลุ่ม 1 ตำแหน่ง จำนวนค่าตอบแทน (บาท/เดือน) 1. พนักงานปฏิบัติการ ชั้น 1 - 6 2. พนักงาน ระดับ 1 - 5 3. หัวหน้างานสวนป่า , รักษาการ ในตำแหน่ง หัวหน้างานสวนป่า 4. ผู้ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย ให้รับผิดชอบงานในหน้าที่ ผู้ช่วยหัวหน้างานสวนป่า ให้ได้รับเงินเพิ่มจากพนักงาน ระดับ 1 - 5 อีก 500 บาท (รวมเป็นเงิน 3,000 บาท) 1,700 2,500 3,800 3,000

กลุ่ม 2 กรณีขอให้ไปช่วยปฏิบัติงาน งานทำไม้ของกลาง, งานทำไม้ป่านอกโครงการ, งานสร้างทางตรวจการสวนป่า, งานทำไม้ในสวนป่า (ซึ่งเป็นงานในสังกัดงานยานพาหนะทำไม้ และส่วนบริการการผลิต) เนื่องจากสังกัดของงานตั้งอยู่ที่สำนัก หรือเขต เมื่อมีงานแล้ว จึงเดินทางไปปฏิบัติงาน โดยลักษณะงานเป็นครั้งคราว

งานทำไม้ในสวนป่า งานทำไม้ป่านอก-โครงการ ส่วนใหญ่มีระยะเวลา 10 วันขึ้นไป 2. งานหน่วยรถยนต์ลากไม้ เพื่อลากไม้ไปส่งหน่วยงานต่าง ๆ โรงเลื่อย หรือ ลูกค้า

จำนวนค่าตอบแทน (บาท/วัน) กลุ่ม 2 ตำแหน่ง จำนวนค่าตอบแทน (บาท/วัน) 1 2 พนักงานปฏิบัติการ ชั้น 1 - 6 2. พนักงาน ระดับ 1 3. พนักงาน ระดับ 2 4. พนักงาน ระดับ 3 - 4 5. พนักงาน ระดับ 5 - 6 70 90 100 120 140 80 160

การประเมินผลหลักเกณฑ์ฯ

ค่าใช้จ่ายเพิ่ม(ลด) (บาท) กรกฎาคม - ธันวาคม หน่วย งาน ปี 2552 (บาท) ปี 2551 ค่าใช้จ่ายเพิ่ม(ลด) (บาท) ลดลง (คิดเป็น%) ส.ศน. 3,702,045.14 4,214,632.10 (512,586.96) 12.16 ส.ศล. 1,543,004.90 1,550,863.01 (7,858.11) 0.51 ส.ศก. 971,157.64 1,137,722.65 (166,565.01) 14.64 ส.ศอ. 1,172,486.00 1,448,467.66 (275,981.66) 19.05 ส.ศต. 1,167,337.00 1,301,950.00 (134,613.00) 10.34 ส.คช. 1,093,898.00 1,085,811.00 8,087.00 0.74 (เพิ่ม) รวม 9,649,928.68 10,739,446.42 (1,089,517.74) 10.15

ค่าใช้จ่ายเพิ่ม(ลด) (บาท) มกราคม - มิถุนายน หน่วย งาน ปี 2553 (บาท) ปี 2552 ค่าใช้จ่ายเพิ่ม(ลด) (บาท) ลดลง (คิดเป็น%) ส.ศน. 3,240,043.01 4,296,788.73 (1,056,745.72) 24.60 ส.ศล. 1,202,583.00 1,497,338.00 (294,755.00) 19.69 ส.ศก. 857,237.00 1,033,808.75 (176,571.75) 17.08 ส.ศอ. 1,204,884.00 1,255,324.00 (50,440.00) 4.02 ส.ศต. 1,202,450.00 1,260,601.00 (58,151.00) 4.61 ส.คช. 1,008,470.00 1,031,419.00 (22,949.00) 2.22 รวม 8,715,667.01 10,375,279.48 1,659,612.47 16.00

ข้อดี ข้อเสีย - ค่าตอบแทนเป็นการเหมาจ่าย ช่วยลดค่าใช้จ่ายให้ อ.อ.ป. สามารถประมาณการค่าใช้ จ่ายประจำเดือนล่วงหน้าได้ - พนักงานมีความกระตือรือร้นในการทำงาน เพื่อทำงานให้ครบเวลาเหมาจ่าย - ผู้ปฏิบัติงานประจำภาคสนาม ได้รับค่าตอบแทนน้อยกว่าการเบิกจ่ายเบี้ยเลี้ยงรายวัน กรณีที่ปฏิบัติงานเต็มเดือน - อัตราค่าตอบแทนภาคสนาม มีอัตราน้อยกว่าค่าเบี้ยเลี้ยงแบบเดิม ทำให้ขาดความ กระตือรือร้นในการทำงาน

ข้อดี ข้อเสีย - สะดวกต่อการเขียนรายงาน ทำให้ตรวจสอบเอกสารใบสำคัญรวดเร็ว และช่วยป้องกันความผิดพลาดในการเขียนที่ผิดระเบียบและกฎเกณฑ์ของ อ.อ.ป. ให้น้อยลง - แบบฟอร์มเบิกจ่ายค่าตอบ แทนภาคสนามไม่มีช่องเวลาทำให้เกิดการเหลื่อมเวลากัน ในการแยกเบิกจ่ายเบี้ยเลี้ยงเดินทาง - รายงานการเบิกจ่ายขาดรายละเอียดที่ชัดเจนในการปฏิบัติงาน (ตามจำนวนวันที่ปฏิบัติ)งานที่ปฏิบัติเหมือนกัน ตลอดทั้งเดือน ซึ่งไม่น่าสอดคล้องกับความเป็นจริง

ข้อดี ข้อเสีย - การนับจำนวนวันปฏิบัติงานไม่ต้องคำนึงถึงเวลาเข้า-ออก - การนับจำนวนวันปฏิบัติงานไม่ต้องคำนึงถึงเวลาเข้า-ออก - การนับจำนวนวันไม่ได้คำนึง เวลาเข้า-ออก ทำให้พนักงาน บางส่วน เมื่อหมดเวลาก็จะไม่ กระตือรือร้น ซึ่งแตกต่างจาก การเบิกเบี้ยเลี้ยงแบบเดิม ซึ่งจะมีความรับผิดชอบตลอด 24 ชั่วโมง - การเบิกเบี้ยเลี้ยงแบบเดิมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติ งานได้ดีกว่า เนื่องจากคิดตามระยะเวลาที่ปฏิบัติงานจริง กำหนดช่วงเวลากว้างไป

ข้อดี ข้อเสีย ควบคุมการปฏิบัติงานได้และใช้เป็นข้อพิจารณาความเสียสละ (กรณีปฏิบัติ งานเกิน จำนวนวันที่กำหนด แต่ยังเบิกในอัตราที่กำหนด - ผู้ปฏิบัติงานและเจ้าหน้าที่มีความเข้าใจตรงกันในเรื่องการเบิกจ่าย เนื่องจากไม่ต้องนับเวลาในการปฏิบัติงานเหมือนการเบิกเบี้ยเลี้ยง - ผู้ปฏิบัติงานบางรายที่ทำงานได้จำนวนวันขาดหรือเกิน 15 วัน หรือ 24 วัน อาจเกิดความท้อและทำให้เสียกำลัง ใจในการทำงานที่ต้องเสี่ยง - บางครั้งผู้ปฏิบัติงานอาจเจ็บป่วยมาทำงานน้อยกว่า 15 วัน ทำให้ไม่ได้รับค่าตอบ แทนในวันที่ปฏิบัติงาน - ทำให้ผู้ปฏิบัติงานบางคนขอใช้สิทธิวันหยุดเพิ่มขึ้น โดย เฉพาะควาญช้าง บางครั้งหา ควาญช้างทดแทนการปฏิบัติ งานไม่ได้ทำให้หน่วยงานเสียโอกาสในการดำเนินงาน

ข้อดี ข้อเสีย - ตรวจสอบได้ยาก (ซึ่งขึ้นอยู่กับหัวหน้า หรือผู้บังคับบัญชา ที่จะเป็นผู้พิจารณา) อาจมีการ ลำเอียงทำให้ข้อมูลผิดพลาด (แต่สามารถวางมาตรการควบคุมได้) ซึ่งจะมีผลต่อการตรวจเช็คและผลการดำเนินงาน - การเบิกจ่ายค่าตอบแทนฯ หัวหน้าสวนป่าหรือผู้ช่วยสวนป่าและพนักงานอื่นๆ ไม่จำเป็นต้องพักค้างที่สวนป่า ซึ่งอาจส่งผลต่อการบริหารจัดการสวนป่าในบางสถานการณ์และพฤติกรรม พนักงานสวนป่า อ.อ.ป. เปลี่ยน แปลงเหมือนพนักงานของกรมป่าไม้ที่รับผิดชอบดูแลสวนป่า

ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงคำสั่งฯ

 ผู้ปฏิบัติงานส่วนใหญ่ต้องการใช้การเบิก แบบเบี้ยเลี้ยงเช่นเดิม (ส.ศต.)  ควรเพิ่มค่าตอบแทนให้สูงขึ้นและเหมาะสม กับตำแหน่งที่ปฏิบัติงาน  กำหนดช่วงเวลาการทำงานต่อค่าตอบแทน ให้แคบลง และมีหลายอัตราค่าภาคสนาม (เนื่องจาก ปัจจุบันบางส่วนเข้าใจว่า 1 วัน นับ 8 ชั่วโมงทำงานเท่านั้น)

 ควรมีเงินตอบแทนประจำตำแหน่งตั้งแต่ระดับ หัวหน้างานขึ้นไป เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจ เนื่องจากต้องรับผิดชอบงานมาก  ควรกำหนดเพิ่มเติม ให้การทำงานน้อยกว่า 15 วัน ได้รับค่าตอบแทนด้วยเช่นกัน  ควรปรับเพิ่มค่าตอบแทนสำหรับคนทำงาน เต็มเดือน  ค่าใช้จ่ายลดลง แต่เนื่องจากไม้โครงการ 4 หลาย ๆ สวนป่าไม่ได้มีการทำไม้ออก ซึ่งอาจ จะทำให้ข้อมูลคลาดเคลื่อนจากเดิมได้

 เนื่องจากในระยะนี้มีนโยบาย (เฉพาะ ส.ศน.) ขอความร่วมมือจ่ายค่าตอบแทนครึ่งหนึ่งของ ที่จ่ายจริง สำหรับงานสวนป่าไม่ได้มีกิจกรรม เชิงสวนป่าโครงการ 2 - 5 ทำไม้ออก อาจทำ ให้ข้อมูลคลาดเคลื่อน  ไม่ต้องใช้แบบฟอร์มในการเขียน(ในอัตราเหมาจ่าย) และระดับ 1-5 ไม่มีผล (ไม่ต้องมีระดับ)  ควรเพิ่มค่าตอบแทนให้ใกล้เคียงกับการเบิกเบี้ยเลี้ยงปฏิบัติงาน