นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
Advertisements

ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
คณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์เกี่ยวกับร้อยละ
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
ระบบตัวเลขโรมัน.
ฝึกคำนวณค่าโทรศัพท์มือถือ
การอ่านและการเขียนทศนิยมไม่เกินสองตำแหน่ง
เรื่อง การคูณ สื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดย ครูเพ็ญพิมล สิทธิวรเกียรติ
เงิน.
ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต. ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต.
ตัวอย่าง: ดุลยภาพในการแลกเปลี่ยนและการผลิต
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
อสมการ.
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
บทที่ 1 อัตราส่วน.
บทที่ 3 ร้อยละ ร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์ หมายถึง เศษส่วนหรืออัตราส่วนที่มีจำนวนหลังเป็น 100 เขียนแทนร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ด้วยสัญลักษณ์ %
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ตัวดำเนินการ (Operator) คือสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายแทนการกระทำกับข้อมูล เพื่อบอกให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทราบว่าจะต้องดำเนินการใดกับข้อมูลใดบ้าง แบ่งออกเป็น.
การเรียนรู้ คณิตศาสตร์
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
การวิเคราะห์ ประมวลผล และนำเสนอข้อมูล
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
โดย...นางสาวทิพวรรณ สืบสมบัติ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุรา
เศษส่วน.
การคำนวณค่าไฟฟ้า.
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
การแจกแจงปกติ.
Mathematics Money
เรื่อง การคิดวิเคราะห์ โดย นางโสภาพรรณ ชื่นทองคำ โรงเรียนบ้านสันกำแพง
แบบทดสอบเรื่องเศษส่วนและทศนิยม
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
ระบบเลขฐานต่าง ๆ By ครูนภาพร.
เรื่อง เลขยกกำลัง อัตรส่วนและร้อยละ
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ปริมาตรทรงกระบอก ปริมาตรทรงกระบอก  r h
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
เรื่อง เงิน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ ชุดที่ 2 เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง การประมาณค่า ครูสุชาฎา รถทอง โรงเรียนปทุมวิไล
สื่อการสอนคณิตศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
คู่อันดับและกราฟของคู่อันดับ
ผศ.ดร.ภัทรวรรธน์ จีรพัฒน์ธนธร
ตัวอย่าง : ประสิทธิภาพในการผลิต คำถาม : ให้การผลิตสินค้าชนิดหนึ่งมีผู้ผลิต 2 ราย ที่มี Production function เหมือนกันดังนี้ q = K 0.25 L 0.75 ราย A ใช้
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 คณิตศาสตร์ ( ค 31101) กราฟและ การนำไปใช้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช คู่อันดับและกราฟ F M B N โดย นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช

คู่อันดับ คู่อันดับและกราฟ ไข่ไก่ (ฟอง) ราคา (บาท) ไข่ไก่ (ฟอง) F M B N คู่อันดับ ไข่ไก่ (ฟอง) ราคา (บาท) ไข่ไก่ (ฟอง) ราคา (บาท)

คู่อันดับ คู่อันดับและกราฟ ไข่ไก่ (ฟอง) ราคา (บาท) F M B N คู่อันดับ ไข่ไก่ (ฟอง) ราคา (บาท) จากแผนภาพข้างบนสามารถเขียนได้เป็น

คู่อันดับ คู่อันดับและกราฟ สมาชิกตัวที่ 1 สมาชิกตัวที่ 2 อ่านว่า F M B N คู่อันดับ สมาชิกตัวที่ 1 สมาชิกตัวที่ 2 อ่านว่า “คู่อันดับ หนึ่ง สาม”

คู่อันดับ คู่อันดับและกราฟ จำนวนไข่ไก่ ราคา F M B N คู่อันดับ จำนวนไข่ไก่ ราคา การเขียนคู่อันดับจะต้องคำนึงถึงลำดับของสมาชิก หมายความว่า ไข่ไก่ 1 ฟอง ใช้เงินซื้อ 3 บาท เงิน 3 บาท ซื้อไข่ไก่ได้ 1 ฟอง หมายความว่า ไข่ไก่ 3 ฟอง ใช้เงินซื้อ 1 บาท เงิน 1 บาท ซื้อไข่ไก่ได้ 3 ฟอง

คู่อันดับ คู่อันดับและกราฟ F M B N คู่อันดับ คู่อันดับ คือ สัญลักษณ์ที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณ 2 ปริมาณ ใช้เครื่องหมายวงเล็บ ( ) มีสมาชิกสองตัว คั่นด้วยเครื่องหมาย , (สมาชิกตัวที่ 1, สมาชิกตัวที่ 2) อ่านว่า คู่อันดับ เอ บี

แบบทดสอบเก็บคะแนนย่อย (20 คะแนน) คู่อันดับและกราฟ F M B N แบบทดสอบเก็บคะแนนย่อย (20 คะแนน) จงเขียนคำอ่านของคู่อันดับต่อไปนี้ 1. อ่านว่า คู่อันดับ สี่ สาม 2. อ่านว่า คู่อันดับ ลบห้า เจ็ด 3. อ่านว่า คู่อันดับ สิบสอง ลบห้า 4. อ่านว่า คู่อันดับ ลบแปด ศูนย์ 5. อ่านว่า คู่อันดับ ลบเจ็ด ลบหก

แบบทดสอบเก็บคะแนนย่อย (20 คะแนน) คู่อันดับและกราฟ F M B N แบบทดสอบเก็บคะแนนย่อย (20 คะแนน) จงเขียนคู่อันดับแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้ำมันก๊าดและราคา โดยอาศัยแผนภาพด้านล่าง ราคา (บาท) น้ำมันก๊าด (ลิตร) จากแผนภาพข้างบนสามารถเขียนเป็นคู่อันดับได้อย่างไร

แบบทดสอบเก็บคะแนนย่อย (20 คะแนน) คู่อันดับและกราฟ F M B N แบบทดสอบเก็บคะแนนย่อย (20 คะแนน) คู่อันดับที่กำหนดให้ต่อไปนี้ แสดงความสัมพันธ์ระหว่างเวลาที่ใช้กับระยะทางที่ขับรถได้ สมาชิกตัวที่ 1 แทน เวลาที่ใช้ (นาที) สมาชิกตัวที่ 2 แทน ระยะทางที่ขับรถได้ (กิโลเมตร) จงอธิบายความหมายของคู่อันดับต่อไปนี้

แบบทดสอบเก็บคะแนนย่อย (20 คะแนน) คู่อันดับและกราฟ F M B N แบบทดสอบเก็บคะแนนย่อย (20 คะแนน) หมายความว่า เวลา 1 นาที ขับรถได้ระยะทาง 2 กิโลเมตร หมายความว่า เวลา 4 นาที ขับรถได้ระยะทาง 8 กิโลเมตร หมายความว่า เวลา 3 นาที ขับรถได้ระยะทาง 6 กิโลเมตร หมายความว่า เวลา 5 นาที ขับรถได้ระยะทาง 10 กิโลเมตร หมายความว่า เวลา 2 นาที ขับรถได้ระยะทาง 4 กิโลเมตร

ระบบพิกัดฉาก คู่อันดับและกราฟ y จตุภาคที่ 2 จตุภาคที่ 1 x จตุภาคที่ 3 F M B N ระบบพิกัดฉาก y จตุภาคที่ 2 จตุภาคที่ 1 x จตุภาคที่ 3 จตุภาคที่ 4

คู่อันดับและกราฟ F M B N ระบบพิกัดฉาก y x

(สมาชิกตัวที่ 1, สมาชิกตัวที่ 2) คู่อันดับและกราฟ F M B N กราฟของคู่อันดับ (สมาชิกตัวที่ 1, สมาชิกตัวที่ 2) ค่าบนแกน x (แกนนอน) ค่าบนแกน y (แกนตั้ง)

กราฟของคู่อันดับ คู่อันดับและกราฟ ตัวอย่าง จงเขียนกราฟของคู่อันดับ y x F M B N กราฟของคู่อันดับ ตัวอย่าง จงเขียนกราฟของคู่อันดับ y x

ตัวอย่าง จงเขียนกราฟของคู่อันดับ 6 5 5 4 3 2 1 -4 10 -4 -3 -2 -1 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 -1 -2 -3 -4 -5 -6 -6

กราฟของคู่อันดับ คู่อันดับและกราฟ ตัวอย่าง F M B N กราฟของคู่อันดับ ตัวอย่าง จากกราฟที่กำหนดให้ จงหาว่าจุดแต่ละจุดแทนคู่อันดับใด y x

แบบทดสอบเก็บคะแนนย่อย (20 คะแนน) คู่อันดับและกราฟ F M B N แบบทดสอบเก็บคะแนนย่อย (20 คะแนน) จงหาว่าคู่อันดับต่อไปนี้ อยู่ในจตุภาคใด 1. อยู่ใน จตุภาคที่ 1 2. อยู่ใน จตุภาคที่ 2 3. อยู่ใน จตุภาคที่ 4 4. อยู่ใน จตุภาคที่ 2 5. อยู่ใน จตุภาคที่ 3

แบบทดสอบเก็บคะแนนย่อย (20 คะแนน) คู่อันดับและกราฟ F M B N แบบทดสอบเก็บคะแนนย่อย (20 คะแนน) จงเขียนกราฟของคู่อันดับ y x

แบบทดสอบเก็บคะแนนย่อย (20 คะแนน) คู่อันดับและกราฟ F M B N แบบทดสอบเก็บคะแนนย่อย (20 คะแนน) จากกราฟที่กำหนดให้ จงหาว่าจุดแต่ละจุดแทนคู่อันดับใด x y จุด แทนคู่อันดับ จุด แทนคู่อันดับ จุด แทนคู่อันดับ จุด แทนคู่อันดับ จุด แทนคู่อันดับ จุด แทนคู่อันดับ

ใบงาน (50 คะแนน) คู่อันดับและกราฟ F M B N ใบงาน (50 คะแนน) จงสร้างระบบพิกัดฉาก พร้อมทั้งขีดเส้นเชื่อมระหว่างคู่อันดับต่อไปนี้ กับ กับ กับ กับ กับ กับ กับ กับ กับ กับ กับ กับ กับ

คู่อันดับและกราฟ F M B N

การนำไปใช้ คู่อันดับและกราฟ ตัวอย่าง F M B N การนำไปใช้ ตัวอย่าง จากข้อมูลด้านล่าง จงสร้างกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จำนวนไข่ไก่กับราคาขาย ไข่ไก่ (ฟอง) ราคา (บาท) จากข้อมูลดังกล่าวสามารถเขียนเป็นคู่อันดับได้ 2 กรณี คือ (จำนวนไข่ไก่, ราคาขาย) (ราคาขาย, จำนวนไข่ไก่)

(จำนวนไข่ไก่, ราคาขาย) คู่อันดับและกราฟ F M B N (จำนวนไข่ไก่, ราคาขาย) สามารถเขียนเป็นคู่อันดับได้ คือ (1, 3), (2, 6),(3, 9), (4, 12), (5, 15) ราคาขาย (บาท) จำนวนไข่ไก่ (ฟอง)

(ราคาขาย, จำนวนไข่ไก่) คู่อันดับและกราฟ F M B N (ราคาขาย, จำนวนไข่ไก่) สามารถเขียนเป็นคู่อันดับได้ คือ (3, 1), (6, 2),(9, 3), (12, 4), (15, 5) จำนวนไข่ไก่ (ฟอง) ราคาขาย (บาท)

ปริมาณน้ำมันก๊าด (ลิตร) คู่อันดับและกราฟ F M B N การนำไปใช้ ตัวอย่าง จากตารางแสดงราคาน้ำมันก๊าดที่ปริมาณต่าง ๆ จงสร้างคู่อันดับเพื่อแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้ำมันก๊าดกับราคา พร้อมทั้งสร้างกราฟของคู่อันดับที่ได้ โดยที่สมาชิกตัวที่ 1 ของคู่อันดับเป็นปริมาณน้ำมันก๊าด ส่วนสมาชิกตัวที่ 2 เป็นราคา ปริมาณน้ำมันก๊าด (ลิตร) ราคา (บาท)

ปริมาณน้ำมันก๊าด (ลิตร) คู่อันดับและกราฟ F M B N ปริมาณน้ำมันก๊าด (ลิตร) ราคา (บาท) ปริมาณ น้ำมันก๊าด (ลิตร) ราคา (บาท) สามารถเขียนเป็นคู่อันดับได้ คือ (1, 4), (2, 8),(3, 12), (4, 16), (5, 20), (6, 24)

จากคู่อันดับ (1, 4), (2, 8),(3, 12), (4, 16), (5, 20), (6, 24) คู่อันดับและกราฟ F M B N จากคู่อันดับ (1, 4), (2, 8),(3, 12), (4, 16), (5, 20), (6, 24) ราคา (บาท) ปริมาณ (ลิตร)

การนำไปใช้ คู่อันดับและกราฟ ตัวอย่าง F M B N การนำไปใช้ ตัวอย่าง จากตารางแสดงระยะทางที่ขับรถได้ ณ เวลาต่าง ๆ จงสร้างคู่อันดับเพื่อแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเวลากับระยะทาง พร้อมทั้งสร้างกราฟของคู่อันดับที่ได้ โดยที่สมาชิกตัวที่ 1 ของคู่อันดับเป็นเวลา ส่วนสมาชิกตัวที่ 2 เป็นระยะทาง เวลา (นาที) ระยะทาง (กิโลเมตร)

คู่อันดับและกราฟ เวลา (นาที) ระยะทาง (กิโลเมตร) เวลา (นาที) F M B N เวลา (นาที) ระยะทาง (กิโลเมตร) เวลา (นาที) ระยะทาง (กิโลเมตร) สามารถเขียนเป็นคู่อันดับได้ คือ (10, 20), (20, 40),(30, 60), (40, 80), (50, 100)

จากคู่อันดับ (10, 20), (20, 40),(30, 60), (40, 80), (50, 100) คู่อันดับและกราฟ F M B N จากคู่อันดับ (10, 20), (20, 40),(30, 60), (40, 80), (50, 100) ระยะทาง (กม.) 70 46 เวลา (นาที) 23 35

คู่อันดับและกราฟ F M B N จำนวนมะนาว (ร้อยผล) วันที่

จากกราฟจงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. วันที่ 2 เก็บมะนาวส่งขายได้เท่าไร คู่อันดับและกราฟ F M B N จากกราฟจงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. วันที่ 2 เก็บมะนาวส่งขายได้เท่าไร 2. วันที่เท่าไรเก็บมะนาวส่งขายได้มากที่สุด เก็บได้เท่าไร 3. วันที่เท่าไรบ้างที่เก็บมะนาวได้จำนวนเท่ากัน และได้เท่าไร 4. วันที่เท่าไรที่จำนวนมะนาวที่เก็บส่งขายเริ่มมีจำนวนลดลง 5. จำนวนมะนาวที่เก็บส่งขายได้ในรอบ 10 วันมีการเปลี่ยนแปลง อย่างไร

คู่อันดับและกราฟ ระยะทาง (กิโลเมตร) P ขบวน ก ขบวน ข เวลา (นาฬิกา) F M B N ระยะทาง (กิโลเมตร) P ขบวน ก ขบวน ข เวลา (นาฬิกา)

จากกราฟจงตอบคำถามต่อไปนี้ คู่อันดับและกราฟ F M B N จากกราฟจงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. รถไฟทั้งสองขบวนแล่นได้ระยะทางทั้งหมดกี่กิโลเมตร และใช้ เวลานานเท่าใด 2. รถไฟขบวน ข แล่นด้วยอัตราเร็วเท่าใด 3. จากเวลา 8.00 น. ถึง 9.30 น. รถไฟขบวน ก แล่นด้วยอัตราเร็วเท่าใด 4. จากเวลา 10.00 น. ถึง 12.00 น. รถไฟขบวน ก แล่นด้วยอัตราเร็วเท่าใด 5. จงบรรยายการเดินทางของรถไฟขบวน ก

คู่อันดับและกราฟ ระยะทาง (กิโลเมตร) P อัตราเร็ว ขบวน ก ขบวน ข F M B N ระยะทาง (กิโลเมตร) P 300 อัตราเร็ว = 3 = 100 ขบวน ก ขบวน ข เวลา (นาฬิกา) 3

คู่อันดับและกราฟ ระยะทาง (กิโลเมตร) P อัตราเร็ว ขบวน ก ขบวน ข F M B N ระยะทาง (กิโลเมตร) P 150 อัตราเร็ว = 1.5 = 100 ขบวน ก ขบวน ข เวลา (นาฬิกา) 4

คู่อันดับและกราฟ ระยะทาง (กิโลเมตร) P อัตราเร็ว ขบวน ก ขบวน ข F M B N ระยะทาง (กิโลเมตร) P 150 อัตราเร็ว = 2 = 75 ขบวน ก ขบวน ข เวลา (นาฬิกา) 5