การสื่อสารด้วยใจคลายวิกฤต อัตถพงศ์ ถนิมพาสน์ นักจิตวิทยาเชี่ยวชาญ
ภาวะวิกฤต - ภาวะชั่วคราวที่เกิดขึ้นเมื่อบุคคลรับรู้ว่ามีสิ่งคุกคามต่อตัวเขา ภาพพจน์ของเขา หรือเป้าหมายในชีวิต - ทำให้เกิดความสูญเสียหรือความเปลี่ยนแปลง โดยที่วิธีการแก้ปัญหาในลักษณะเดิมๆ ไม่เพียงพอที่จะลดความตึงเครียด - บุคคลเสียความสมดุลของชีวิตไป
การรับรู้ปัญหา สิ่งคุกคาม วิตกกังวล เครียด สูญเสีย ปวดร้าว สิ้นหวัง สิ่งท้าทาย เกิดแรงกระตุ้นให้มีการ จัดการกับปัญหา พัฒนาตนเอง
ปฏิกิริยาตอบสนองต่อเหตุการณ์วิกฤต ช็อก - การตอบสนองทาง กลัว อารมณ์ต่อเหตุการณ์ หวาดผวา ของบุคคลแต่ละคน สยดสยอง เศร้า - บางคนไม่อาจหลุดพ้น สูญเสีย จากความรู้สึกเหล่านี้
บาดแผลทางจิตใจคืออะไร? เหตุการณ์ร้ายแรง time เป็นบาดแผลที่มองไม่เห็น บาดแผลทางจิตใจ self self
คุณลักษณะของบุคคลที่จะให้การช่วยเหลือด้านจิตใจ สงบ มั่นคง อดทน มีความเมตตาต่อผู้อื่น ใจกว้าง เปิดรับประสบการณ์ใหม่ คล่องตัว ปรับตัวง่าย เข้ากับผู้อื่นได้ดี มีทักษะทางสังคม มองโลกในแง่ดีแม้จะอยู่ในสถานการณ์ที่แย่ ยอมรับผู้อื่นโดยไม่มีเงื่อนไข
หลักการสื่อสารด้วยใจต้องคำนึงถึง ธรรมชาติของมนุษย์ โกหกเป็นสิ่งต้องห้าม ความจริงใจ เข้าใจตัวเอง เข้าใจผู้อื่น และสื่อสารให้เขารู้
วิธีการสื่อสาร ต้องคำนึงถึง ประเพณี, วัฒนธรรม วิถีชีวิต ความเชื่อ, ค่านิยม ศาสนา ภาษา ความต้องการ
สิ่งที่จำเป็นในการสื่อสาร “ความสามารถในการอยู่กับสิ่งที่เกิดขึ้นภายใน อยู่กับความรู้สึกและความต้องการของคนที่อยู่ ต่อหน้าเราในขณะนี้... เวลานี้” มาร์แชล โรเซนเบิร์ก
องค์ประกอบของการสื่อสารอย่างสันติ การสังเกต เข้าใจความรู้สึก เข้าใจความต้องการ การขอร้อง
หัวใจของการแสดงความเข้าใจ “การสานสัมพันธ์ บนพื้นฐานของความกรุณาและมนุษยธรรม”
รูปแบบของการสื่อสารที่เป็นอุปสรรคต่อการแสดงความเข้าใจ แนะนำ เรื่องตัวเองสำคัญกว่า สั่งสอน ปลอบใจ เล่าเรื่อง หยุดอีกฝ่ายหนึ่ง ให้ความสงสาร วิเคราะห์ อธิบายตัวเอง แก้ไข ขู่ ตัดสิน เยาะเย้ย เบี่ยงเบน
เคารพในประสบการณ์ของผู้พูด ใส่ใจ ให้เวลาเขาได้พูด การแสดงความเข้าใจจะเกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพเมื่อ เคารพในประสบการณ์ของผู้พูด ใส่ใจ ให้เวลาเขาได้พูด เข้าใจความรู้สึก, เข้าใจความต้องการ
Donut Theory อารมณ์ เรื่องราว ความรู้สึก
สภาพอารมณ์ที่จะแสดงการตอบสนอง ( Emotionality) ระดับอารมณ์ปกติ (Normal Functional Level) ระดับอารมณ์ที่มีเหตุผล (Rationality)
Active Listening Skill (ALS) การฟังอย่างตั้งใจ *** การฟัง เป็นพลังสำคัญในการเจรจา การไม่ฟัง ไม่รู้ปัญหาที่จะให้แก้
ALS ประกอบด้วย Hearing Attending Understanding Remembering
(Active Listening Skill) ทักษะการตั้งใจฟัง (Active Listening Skill) Mirroring : การสะท้อนกลับ Open-End-Questions : คำถามเปิด-ปิด Minimal Encouragement : การเห็นด้วยเล็กๆน้อยๆ Paraphrase : การทวนความ
(Active Listening Skill) ทักษะการตั้งใจฟัง (Active Listening Skill) 5. Paraphrase : การทวนความ 6. Emotional Labeling : การสะท้อนความรู้สึก 7. “I” Message : การใช้สรรพนาม Effective Pause ข : การหยุดโต้ตอบชั่วขณะ Summarize : การสรุปความ
บันไดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม พฤติกรรมที่คาดหวัง ความไว้ใจเชื่อถือ เกิดความร่วมมือ ความเข้าอกเข้าใจ การสื่อสาร
จิต ความรู้สึก กาย