การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
แนวทางการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2551
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการ จัดระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคกลาง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาชน มีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้อง.
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
แนวทางการประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๕
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
สรุปสถานการณ์โรคและภัยสุขภาพ ประจำเดือนธันวาคม 2549(ณ สัปดาห์ที่ 51)
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา พื้นที่รับผิดชอบ สคร. ที่ 6 ขก. ปี 2549 ( ณ สัปดาห์ 26 )
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
การเฝ้าระวังผู้ป่วยกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ (ILI) ที่เข้ารับการรักษาในสถาบันบำราศนราดูร A Hospital-Based Surveillance of ILI Case-Patients In Bamrasnaradura.
ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
การประชุม Dead Case Conference
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มีนาคม มีนาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน พฤษภาคม 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ระบาดวิทยาและ SRRT.
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
แผนปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ 2556 กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
แผนคำของบประมาณปี 2559 โครงการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
นายแพทย์ชนินันท์ สนธิไชย 22 กันยายน 2553
ประชุม war room ควบคุมโรคเขตเมือง ครั้งที่ 2 /2555
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
แนวทางการคัดแยกและเฝ้าระวังผู้ป่วยเมื่อสงสัยการติดเชื้ออีโบรา
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ, งานระบาดวิทยา,EPI, งานทันตะฯ ด้วยสองมือ... ของพวกเรา... ร่วมสร้าง.
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558

จุดเน้นปี 2558 ระบบเฝ้าระวัง 6 ระบบหลัก SRRT ตำบล การตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข

ระบบเฝ้าระวัง 6 ระบบ ระบบรายงาน 506 ระบบเฝ้าระวัง ILI ระบบเฝ้าระวัง AFP ระบบเฝ้าระวัง AEFI ระบบเฝ้าระวังโรคหัด ระบบการแจ้งข่าว

ระบบรายงาน 506 ความทันเวลา (ส่งสัปดาห์ละ 3 ครั้ง) ทั้งระดับศูนย์ระบาดอำเภอ และ รพ.สต. ความทันเวลา (ส่งสัปดาห์ละ 3 ครั้ง) ความครอบคลุมของหน่วยรายงาน ปริมาณการรายงาน รพศ 50 ราย/wk รพท. 30 ราย/wk รพช. 5 ราย/wk และ ไม่มีสัปดาห์ใดเป็นศูนย์ การวิเคราะห์สถานการณ์ การใช้ข้อมูลแจ้งแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง

ระบบเฝ้าระวัง ILI 1. โรงพยาบาลมีการรายงาน ILI เป็นรายวันติดต่อกันทุกสัปดาห์ (วันอังคารเช้า) 2. วิเคราะห์ข้อมูล สัดส่วนผู้ป่วย ILI ต่อผู้ป่วยนอก (5%, 10%) เปรียบเทียบกับจำนวนผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่ในช่วงเวลาเดียวกัน

เป้าหมาย 2 ต่อประชากรอายุต่ำกว่า 15 ปีแสนคน (6 คน) ระบบเฝ้าระวัง AFP เป้าหมาย 2 ต่อประชากรอายุต่ำกว่า 15 ปีแสนคน (6 คน) มีการค้นหาผู้ป่วย AFP ในโรงพยาบาล โดยการทำ Active search จากรหัส ICD.10 และ รายงาน AFP Zero report ทุกวันอังคาร มีการค้นหาผู้ป่วยในชุมชนผ่าน อสม. และ เครือข่ายในชุมชน เมื่อพบผู้ป่วย AFP สอบสวนภายใน 48 ชม. ควบคุมโรค(ORI) ภายใน 72 ชม. และ เก็บอุจจาระส่งตรวจ 2 ครั้ง ภายใน 14 วัน

ระบบเฝ้าระวัง AEFI มีระบบการติดตาม AEFI ในงาน EPI บริการวัคซีน มีการเชื่อมโยงข้อมูล AEFI และ ADR ของฝ่ายเภสัชกรรม มีรายงาน Zero report AEFI ทุกวันอังคาร พร้อม AFP มีการรายงานด้วยแบบฟอร์ม AEFI1(OPD) และ AEFI2 (IPD)

ระบบเฝ้าระวังโรคหัด เป้าหมาย Eliminate โรคหัดให้เหลือ 1 ต่อ ปชก ล้านคนในปี 2563 ผู้ป่วยสงสัยหัดทุกรายให้ รายงาน 506 สอบสวนเฉพาะรายทุกราย และ ตรวจเลือดดูระดับ IgM ทุกราย ส่งศูนย์วิทย์ ไม่เสียค่าตรวจ ผู้ป่วยที่รายงาน 506 ให้ key ข้อมูลเข้าฐานข้อมูลโรคหัดของสำนักระบาดวิทยา กรณีการระบาดให้สุ่มทำ Throat swab เพื่อตรวจ PCR และ ดูสายพันธุ์ของโรคหัดที่ระบาด

ระบบการแจ้งข่าว 1. มีการแจ้งข่าวจาก อสม. หรือ เครือข่ายในพื้นที่ทั้งในระดับตำบลและอำเภอ 2. มีการแจ้งข่าวให้จังหวัด/อำเภอในโรคสำคัญ และ การระบาด ให้ครอบคลุมและทันเวลา

เรื่องอื่นๆที่สำคัญ 1. การสอบสวนโรค ครบถ้วน คุณภาพ 2. การเขียนรายงานสอบสวนโรค - รายงานเบื้องต้นทุกเหตุการณ์ - รายงานฉบับสมบูรณ์อย่างน้อยปีละ 1 ฉบับ 3. การควบคุมโรค/การระบาด ไม่เกิด 2nd generation ในทุกเหตุการณ์ 4. การเตรียมความพร้อมรับโรคอุบัติใหม่ 5. การทำงานร่วมกันที่ดีระหว่าง รพ. สสอ. รพ.สต. ท้องถิ่น ฯลฯ

อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ปี 2558 คุณลักษณะที่ 2 มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ ประเด็นการประเมิน คะแนน 1. ทีม SRRT อำเภอผ่านการประเมินรับรองมาตรฐานจาก สคร. 6 2. ทีม SRRT อำเภอ มีการสอบสวนควบคุมโรค/ภัย ที่มีคุณภาพ 3. ทีม SRRT ระดับอำเภอ มีระบบการเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีคุณภาพ 5 4. ทีม SRRT ระดับอำเภอ มีการซ้อมแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข 5. ทีม SRRT เครือข่ายระดับตำบล ผ่านการประเมินรับรองมาตรฐาน SRRT จากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และ มีการเฝ้าระวังเหตุการณ์ที่มีคุณภาพ 8 6. มีระบบข้อมูลการเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ 10

สวัสดี