เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
Advertisements

สรุปภาพรวมการเรียนรู้
วัดตัวแปร(ตาม)การวิจัยในชั้นเรียน
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
โครงงานคืออะไร ??? ติดตามมาเลยนะครับ…..
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การสังเกต อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
ส่วนที่ 2 การประเมินกับ การบริหารงานบุคคล รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
จุดมุ่งหมายหลักสูตร และการนำหลักสูตรไปใช้
การศึกษารายกรณี.
เรื่อง เขาเป็นใครหนอ ? เขามาจากไหน ?
สร้างสรรค์งานโดย ครูพงศ์ศักดิ์ อินปา
โครงงาน “นำเที่ยวงานชมรมนิทรรศน์”
ครูเสน่ห์ อุ่นสิม จำใจเสนอ.
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
สรุปภาพรวมการเรียนรู้ เรื่อง หมุนเวลาพาเพลิน
ครูอิงครัต กังวาลย์ โรงเรียนทุ่งสง
สรุปภาพรวมของหน่อยการเรียนรู้
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
หลักการพัฒนา หลักสูตร
เทคนิควิธีในการประเมินบุคลากร
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง
การวางแผนและการดำเนินงาน
Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
วิธีการทางวิทยาการระบาด
การจัดกระทำข้อมูล.
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
วิธีการและเครื่องมือ ที่ใช้ในการวัดผล
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
จุดมุ่งหมายการศึกษา และพฤติกรรมการศึกษา
วิธีการและเครื่องมือ ที่ใช้ในการวัดผล
แนวคิดในการวิเคราะห์ผู้เรียนที่นิยม 5 แนวคิด
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวิเคราะห์ผู้เรียน
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
แบบสังเกต (Observation form)
การสังเกตการณ์ (Observation).
และการประเมินแบบมีส่วนร่วม
การเขียนรายงานการวิจัย
บทที่ 7 การรวบรวมข้อมูลวิจัย
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
หลักสูตรพัฒนาความสามารถในการสร้างเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
หน่วยที่ 5 การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
การจัดสารนิทัศน์ (DOCUMENTATION)
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
โรงเรียนสายธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เทคนิคการสื่อสารกับผู้ปกครอง (Communication Skill)
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
อบรมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
IDS 3901 ค้นคว้าวิจัยงานออกแบบ. บทที่ 1 บทนำ 1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา เนื้อหาในส่วนนี้มาจากข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวกับ เรื่องที่จะทำ ประวัติความเป็นมาของตัวสินค้าหรือตัว.
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา

ทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) ทำอย่างอัตโนมัติ Naturalization ทำอย่างต่อเนื่อง Articulation ทำอย่างถูกต้อง Precision ทำตามแบบ Manipulation เลียนแบบ Imitation

เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา การทดสอบ(Testing) การสังเกต (Observation)  แบบสำรวจรายการ (Checklist)  มาตรประมาณค่า (Rating Scale)  การจดบันทึก (Records)  การสัมภาษณ์ (Interview)  แบบสอบถาม (Questionaire) สังคมมิติ (Sociometry)

การทดสอบ(Testing) หมายถึง กระบวนการในการนำชุดของสิ่งเร้าไปกระตุ้นให้นักเรียนแสดงพฤติกรรมที่ต้องการวัดออกมาให้ครูสังเกตได้และวัดได้ โดยทั่วไปครูใช้การทดสอบเพื่อวัดพฤติกรรมพุทธิพิสัย ของนักเรียน อันประกอบไปด้วยความรู้ความจำ ความเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการประเมินค่า โดยมีแบบทดสอบ(test) เป็นเครื่องมือสำคัญในการกระตุ้นให้นักเรียนแสดงพฤติกรรมดังกล่าวออกมา

การสังเกต (Observation) หมายถึง การเฝ้าดูพฤติกรรมที่ต้องการสังเกตอย่างมีจุดมุ่งหมาย โดยอาศัยประสาทสัมผัสแล้วจดบันทึกสิ่งที่สังเกตได้ไว้เป็นหลักฐานเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการลงสรุปสิ่งที่ทำการสังเกตได้ เครื่องมือที่ใช้จดบันทึกผลการสังเกต เช่น แบบสำรวจรายการ มาตรประมาณค่า หรือแบบบันทึก ครูใช้การสังเกตในการวัดพฤติกรรมจิตพิสัย และทักษะพิสัย ของนักเรียน

แบบสำรวจรายการ (Checklist) เป็นเครื่องมือวัดที่มีลักษณะเป็นชุดรายการที่ต้องการตรวจสอบ ซึ่งต้องการคำตอบเพียง 2 กรณี คือ ตอบรับกับตอบปฏิเสธ เช่นนักเรียนปกิบัติได้ หรือปฏิบัติไม่ได้ , นักเรียนมีพฤติกรรม หรือไม่มีพฤติกรรม นิยมใช้ประกอบการสังเกตว่าน.ร.มีพฤติกรรมจิตพิสัย หรือทักษะพิสัย ที่ครูต้องการตรวจสอบหรือไม่

มาตรประมาณค่า (Rating Scale) เป็นเครื่องมือวัดมีลักษณะเป็นชุดรายการที่ต้องการตรวจสอบ เหมือนกับแบบสำรวจรายการต่างกันตรงที่สามารถบอกระดับคุณภาพหรือระดับปริมาณว่ามีมากน้อยเพียงใด เช่น นักเรียนปฏิบัติได้ดี ปฏิบัติได้พอใช้ หรือปฏิบัติไม่ได้ นิยมใช้ประกอบการสังเกตพฤติกรรม จิตพิสัย หรือ ทักษะพิสัย ที่ต้องการทราบระดับคุณภาพ

การจดบันทึก (Records) เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการจดบันทึกพฤติกรรมหรือเหตุการณ์จากที่สังเกตได้ โดยการเขียนข้อความเกี่ยวกับ สิ่งที่สังเกตได้ลงในสมุดบันทึกอย่างเป็นระบบตามความเป็นจริง นิยมใช้เป็นเครื่องมือประกอบการสังเกตพฤติกรรมจิตพิสัย

การสัมภาษณ์ (Interview) เป็นการพูดคุยกันอย่างมีจุดมุ่งหมายระหว่างบุคคล 2 ฝ่าย คือ ผู้สัมภาษณ์กับผู้ถูกสัมภาษณ์ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ต้องการ ครูใช้การสัมภาษณ์นักเรียนเพื่อเก็บข้อมูลเกี่ยวกับข้อเท็จจริง ความคิดเห็น เจตคติ และ ความรู้สึก ของนักเรียน หรืออาจสัมภาษณ์ผู้ปกครองเพื่อเกี่บข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับตัวนักเรียน

แบบสอบถาม (Questionaire) เป็นชุดของคำถามที่ใช้รวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ที่ต้องการทราบ โดยผู้ตอบจะต้องเขียนตอบลงในแบบสอบถามด้วยตัวเอง ครูใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูลลักษณะเดียวกับการสัมภาษณ์ เช่น ข้อเท็จจริง ความคิดเห็น เจตคติ และ ความรู้สึก ของนักเรียน แต่จะใช้ได้ดีในกรณีที่นักเรียนอ่านออกเขียนได้

สังคมมิติ (Sociometry) เป็นวิธีการวัดเพื่อศึกษาลักษณะความสัมพันธ์ทางสังคมของบุคคล ว่านักเรียนเป็นที่ยอมรับของสมาชิกในกลุ่มเพียงใด โดยให้นักเรียนตอบคำถามที่แสดงถึงความสัมพันธ์ของสมาชิกในกลุ่ม เช่น ใครเป็นเพื่อนรักของนักเรียน, นักเรียนชอบเล่นกับใครแล้วครูนำคำตอบของนักเรียนมาวิเคราะห์ เพื่อดูว่ามีนักเรียนคนใดบ้างที่เพื่อนไม่เลือก ซึ่งมีแนวโน้มเกี่ยวกับปัญหาด้านการปรับตัว

คำถามนำ  ถ้าครูจะให้นักเรียนทำงานกลุ่มนักเรียนจะเลือกเพื่อนได้ 3 คน  นักเรียนจะเลือกใครในห้องนี้  จากนั้นก็นำคำตอบของนักเรียนมาแจกแจงความถี่ดังตัวอย่าง