ดร.อรพรรณ บุตรกตัญญู คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
Advertisements

พิชิตโครงงานวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
แผนที่โรงเรียนอนุบาลเชียงใหม่
โครงงานคืออะไร ??? ติดตามมาเลยนะครับ…..
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
G N L เรื่องที่น่าชื่นชม ยินดี การเรียนรู้ใหม่ ๆ ความคาดหวัง Greeting
แนวคิดการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ระหว่างวันที่ กรกฎาคม 2554 โรงเรียนตากพิทยาคม
การออกแบบการเรียนรู้อย่างไรให้ผู้เรียนบรรลุวัตถุประสงค์
ผลิตสินค้าและบริการ.
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
การบูรณาการไอซีทีสู่ห้องเรียน
Intel® Teach Program Essentials Course v.10.1
ครูเสน่ห์ อุ่นสิม จำใจเสนอ.
หน่วยการเรียนรู้ คืออะไร
สรุปภาพรวมการเรียนรู้ เรื่อง หมุนเวลาพาเพลิน
ครูอิงครัต กังวาลย์ โรงเรียนทุ่งสง
Project Based Learning
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
แนะนำวิทยากร.
เทคนิคการเป็นวิทยากรอบรมเข้มเสริมประสบการณ์วิชาชีพสาขาวิทยาการจัดการ
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
Knowledge Management (KM)
การจัดการเรียนรู้โดยใช้ “เกม” (Game)
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
แนวคิดในการวิเคราะห์ผู้เรียนที่นิยม 5 แนวคิด
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวิเคราะห์ผู้เรียน
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
หน่วย การเรียนรู้.
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
รองศาสตราจารย์ ดร.เอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์
การเรียนรู้แบบโครงการ บูรณาการกระบวนการกลุ่ม
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
และการประเมินแบบมีส่วนร่วม
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
Paradigm Workshop by Dr. Prapon Phasukyud
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
เติม STEM ให้เต็ม STEAM
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
การรายงานกิจกรรมการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
สายวิชาเคมี ชั้นปีที่ 3
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแนว 7 Es
วิธีการคิดวิเคราะห์.
โรงแรมนนทบุรีพาเลซ จังหวัดนนทบุรี 8-9 มีนาคม 2557.
การจัดสารนิทัศน์ (DOCUMENTATION)
แนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบ การสอนแบบโครงงาน/โครงการ
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
กระบวนการ การออกแบบการเรียนการสอน แนวคิดสำคัญ เริ่มจากการคิดทุกอย่างให้จบสิ้น จึงเริ่มต้นจากปลายทางที่ ผลผลิตที่ต้องการ เป็นหลักฐาน พยานแห่งการเรียนรู้
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ดร.อรพรรณ บุตรกตัญญู คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การจัดประสบการณ์เรียนรู้ปฐมวัยแบบโครงงาน (Project based learning) ในระยะต่าง ๆ ดร.อรพรรณ บุตรกตัญญู คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

การจัดประสบการณ์เรียนรู้ปฐมวัยแบบโครงงาน (Project based learning) เป็นการนำเอาโครงงานมาใช้ในกระบวนการการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน และจัดเป็นรูปแบบหนึ่งในการจัดประสบการณ์เรียนรู้ปฐมวัย เป็นการศึกษาหัวข้อหรือปัญหาที่เด็กสนใจในโลกความเป็นจริงรอบตัว (real-world topics) อย่างลุ่มลึก โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้เป็นกระบวนการในการศึกษาหาคำตอบที่ไม่ได้จำกัดขั้นตอนหรือระยะของกิจกรรมที่ตายตัว ยืดหยุ่นไปตามความสนใจในการเรียนรู้ของเด็กเป็นหลัก

การจัดประสบการณ์เรียนรู้ปฐมวัยแบบโครงงาน (Project based learning) การจัดประสบการณ์เรียนรู้ปฐมวัยแบบโครงงานควรมีความสอดคล้องกับหลักสูตรปฐมวัยและกรอบมาตรฐานการเรียนรู้ ทำให้เด็กได้มีพัฒนาการและการเรียนรู้ที่บรรลุมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของหลักสูตรและตัวชี้วัดตามมาตรฐานการเรียนรู้ การจัดประสบการณ์เรียนรู้ปฐมวัยแบบโครงงานจึงจำเป็นต้องใช้การจัดทำสารนิทัศน์เป็นเครื่องมือสำคัญในการสะท้อนการเรียนรู้ของเด็กผ่านการทำกิจกรรม

โครงงานในช่วงต่าง ๆ ช่วงที่ 1 กิจกรรมที่นำไปสู่การเริ่มโครงงาน ช่วงที่ 2 กิจกรรมที่ให้เด็กมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ ช่วงที่ 3 กิจกรรมที่เด็กมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยการสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำเสนอ

ช่วงที่ 1 กิจกรรมที่นำไปสู่การเริ่มโครงงาน สังเกตสิ่งต่าง ๆ เพื่อนำไปสู่การตั้งคำถาม แล้วเลือกคำถามอย่างสมเหตุสมผล จากนั้นนำเด็กไปสู่การหาวิธีการหาคำตอบจากความคิดของเด็ก ให้เด็กสร้างทางเลือกวิธีการหาคำตอบ เลือกวิธีการที่สามารถตอบคำถามที่สงสัยได้

สิ่งที่เรารู้เกี่ยวกับไก่ สิ่งที่เราต้องการรู้เกี่ยวกับไก่ เรียนรู้เรื่องไก่ สิ่งที่เรารู้เกี่ยวกับไก่ Jordan - Chickens have big claws. Chloe - The chicken is a girl. She lays eggs. Christina –They have long nails. Melissa - The chicken is a mommy. Weldon - The chicken has wings. สิ่งที่เราต้องการรู้เกี่ยวกับไก่ Mark - Does she have wings ? Hannah - Why was she getting scared? Jorda n - Do chickens eat chicken soup. Alexis - She has red things between her mouth. What are they? Brianna - Does she lay her eggs in a nest? Christina - Did the chicken crack out of an egg?

ช่วงที่ 2 กิจกรรมที่ให้เด็กมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ ช่วงที่ 2 กิจกรรมที่ให้เด็กมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ เลือกใช้วิธีการทำให้เด็กได้เสนอในการหาคำตอบ เพิ่มพูนความรู้ของเด็กโดยการศึกษานอกสถานที่ การสำรวจ การเชิญวิทยากรหรือผู้เชี่ยวชาญ สร้างองค์ความรู้ วิธีการหรือชิ้นงาน

สังเกตรูปร่างลักษณะของไก่

วาดภาพไก่

ภาพผลงานที่เด็ก ๆ วาด

เรียนรู้อวัยวะต่าง ๆ ของไก่

ศึกษาลักษณะของไข่ไก่

ศึกษาไก่ที่มีลักษณะต่างกันตามพันธุ์

เรียนรู้การเลี้ยงไก่

บันทึกสิ่งที่เรียนรู้เกี่ยวกับไก่

กิจกรรมดนตรีและการเคลื่อนไหว

ทำพายไก่

ช่วงที่ 3 กิจกรรมที่เด็กมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยการสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำเสนอ นำเสนอสิ่งที่ได้ค้นพบจากวิธีการที่สามารถหาคำตอบในการสรุปโดยการสะท้อนโครงงานและสื่อสารสิ่งที่ได้เรียนรู้จากโครงงาน

แสดงผลงานที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับไก่ ให้ผู้ปกครองชม

Future Extension of This Project