ดร.อรพรรณ บุตรกตัญญู คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การจัดประสบการณ์เรียนรู้ปฐมวัยแบบโครงงาน (Project based learning) ในระยะต่าง ๆ ดร.อรพรรณ บุตรกตัญญู คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การจัดประสบการณ์เรียนรู้ปฐมวัยแบบโครงงาน (Project based learning) เป็นการนำเอาโครงงานมาใช้ในกระบวนการการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน และจัดเป็นรูปแบบหนึ่งในการจัดประสบการณ์เรียนรู้ปฐมวัย เป็นการศึกษาหัวข้อหรือปัญหาที่เด็กสนใจในโลกความเป็นจริงรอบตัว (real-world topics) อย่างลุ่มลึก โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้เป็นกระบวนการในการศึกษาหาคำตอบที่ไม่ได้จำกัดขั้นตอนหรือระยะของกิจกรรมที่ตายตัว ยืดหยุ่นไปตามความสนใจในการเรียนรู้ของเด็กเป็นหลัก
การจัดประสบการณ์เรียนรู้ปฐมวัยแบบโครงงาน (Project based learning) การจัดประสบการณ์เรียนรู้ปฐมวัยแบบโครงงานควรมีความสอดคล้องกับหลักสูตรปฐมวัยและกรอบมาตรฐานการเรียนรู้ ทำให้เด็กได้มีพัฒนาการและการเรียนรู้ที่บรรลุมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของหลักสูตรและตัวชี้วัดตามมาตรฐานการเรียนรู้ การจัดประสบการณ์เรียนรู้ปฐมวัยแบบโครงงานจึงจำเป็นต้องใช้การจัดทำสารนิทัศน์เป็นเครื่องมือสำคัญในการสะท้อนการเรียนรู้ของเด็กผ่านการทำกิจกรรม
โครงงานในช่วงต่าง ๆ ช่วงที่ 1 กิจกรรมที่นำไปสู่การเริ่มโครงงาน ช่วงที่ 2 กิจกรรมที่ให้เด็กมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ ช่วงที่ 3 กิจกรรมที่เด็กมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยการสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำเสนอ
ช่วงที่ 1 กิจกรรมที่นำไปสู่การเริ่มโครงงาน สังเกตสิ่งต่าง ๆ เพื่อนำไปสู่การตั้งคำถาม แล้วเลือกคำถามอย่างสมเหตุสมผล จากนั้นนำเด็กไปสู่การหาวิธีการหาคำตอบจากความคิดของเด็ก ให้เด็กสร้างทางเลือกวิธีการหาคำตอบ เลือกวิธีการที่สามารถตอบคำถามที่สงสัยได้
สิ่งที่เรารู้เกี่ยวกับไก่ สิ่งที่เราต้องการรู้เกี่ยวกับไก่ เรียนรู้เรื่องไก่ สิ่งที่เรารู้เกี่ยวกับไก่ Jordan - Chickens have big claws. Chloe - The chicken is a girl. She lays eggs. Christina –They have long nails. Melissa - The chicken is a mommy. Weldon - The chicken has wings. สิ่งที่เราต้องการรู้เกี่ยวกับไก่ Mark - Does she have wings ? Hannah - Why was she getting scared? Jorda n - Do chickens eat chicken soup. Alexis - She has red things between her mouth. What are they? Brianna - Does she lay her eggs in a nest? Christina - Did the chicken crack out of an egg?
ช่วงที่ 2 กิจกรรมที่ให้เด็กมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ ช่วงที่ 2 กิจกรรมที่ให้เด็กมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ เลือกใช้วิธีการทำให้เด็กได้เสนอในการหาคำตอบ เพิ่มพูนความรู้ของเด็กโดยการศึกษานอกสถานที่ การสำรวจ การเชิญวิทยากรหรือผู้เชี่ยวชาญ สร้างองค์ความรู้ วิธีการหรือชิ้นงาน
สังเกตรูปร่างลักษณะของไก่
วาดภาพไก่
ภาพผลงานที่เด็ก ๆ วาด
เรียนรู้อวัยวะต่าง ๆ ของไก่
ศึกษาลักษณะของไข่ไก่
ศึกษาไก่ที่มีลักษณะต่างกันตามพันธุ์
เรียนรู้การเลี้ยงไก่
บันทึกสิ่งที่เรียนรู้เกี่ยวกับไก่
กิจกรรมดนตรีและการเคลื่อนไหว
ทำพายไก่
ช่วงที่ 3 กิจกรรมที่เด็กมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยการสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำเสนอ นำเสนอสิ่งที่ได้ค้นพบจากวิธีการที่สามารถหาคำตอบในการสรุปโดยการสะท้อนโครงงานและสื่อสารสิ่งที่ได้เรียนรู้จากโครงงาน
แสดงผลงานที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับไก่ ให้ผู้ปกครองชม
Future Extension of This Project