1.การตรวจประเมินสถานที่ผลิตอาหารPrimary GMP

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตัวชี้วัดระดับกรม อย. ประเด็น ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ผู้ดำเนินการ
Advertisements

คำขอขึ้นทะเบียน ตามแบบกปม/ทบ2 (ผู้ประกอบการประเภทอื่นๆ)
ทอฟฟี่มะละกออัลมอนด์
ประเด็นการตรวจติดตาม
ประเด็นเน้นหนัก โครงการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน 2550
โดย นายนิตย์ ทองเพชรศรี นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ
ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
โครงการพัฒนา (Cross Function) กลุ่ม Tsunami2.
ความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Safety)
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
โครงการตามแผนปฏิบัติงาน
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
วันพุธที่ 20 ตุลาคม 2553 ณ ประชุม War room กรมการพัฒนาชุมชน
การตรวจสถานที่ผลิตอาหารตามเกณฑ์ GMPและการเก็บตัวอย่างส่งตรวจวิเคราะห์
การดำเนินงาน อาหารแปรรูปในภาชนะพร้อมจำหน่าย
แนวทางการประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๕
แนวทางการประเมินมาตรฐาน การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ตัวชี้วัดการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
มาตรการควบคุมอาหารแปรรูป ที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ไข้เลือดออก.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวงสาธารณสุข ปี 2557
กิจกรรมเด่น ประจำเดือน สิงหาคม 2554
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
โดย นพ.อุทิศศักดิ์ หริรัตนกุล
เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงฯ เขตฯ10 ประจำปี วันที่ พ. ย ณ รร
การตรวจราชการและนิเทศงาน รอบ 1 ปี 2557 จังหวัดเลย
สำนักงานทรัพยากรน้ำภาค
กิจกรรมเด่น ประจำเดือน พฤษภาคม 2554 สำนักงานเกษตรอำเภอบางแก้ว.
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
การตรวจราชการและนิเทศงานฯ
สาขาโรคมะเร็ง.
นโยบาย “ครัวไทยสู่ครัวโลก”
การพัฒนาการดำเนินงาน Service Plan เขตบริการสุขภาพที่ 1 สาขาตา
ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60.
Primary GMP นางอุบล ธาราวรรณ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
สรุปผลนิเทศงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข ระดับอำเภอปีงบประมาณ สิงหาคม 2557.
การพัฒนาระบบบริการทุติยภูมิและปฐมภูมิ
กลุ่มที่ 11.
1. การตรวจประเมินสถานที่ผลิตอาหาร Primary GMP 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง 1.1 ตรวจประเมินสถานที่ผลิต - ดำเนินการร่วมกับทีม PGMP ระดับอำเภอ - สถานที่ผลิตที่ได้รับอนุญาตแล้ว.
งานยาเสพติด.
Knowledge Management องค์ความรู้เรื่อง “ การส่งเสริมงานวิสาหกิจชุมชนของสำนักงาน เกษตรอำเภอเมืองราชบุรี ” ความสำคัญ ถอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมงาน.
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
พื้นที่ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินอุทกภัยในพื้นที่
ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดที่
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ตัวชี้วัดผลงาน 1. มีการคณะกรรมการ หรือ คณะอนุกรรมการ.
สถานการณ์ / สภาพปัญหา / มาตรการ ดำเนินการ o เป้าหมาย 11 อำเภอ o 3 กลุ่มเป้าหมาย o 1. ผู้สูงอายุติดเตียง 994 คน o 2. ผู้พิการช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ 656.
รายงานความก้าวหน้าการตรวจติดตามประเมิน
DHS.
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทาง ระบาดวิทยา 1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง.
พื้นที่ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินอุทกภัยในพื้นที่ อำเภอปากพะยูน อำเภอป่าบอน อำเภอป่าพะยอม และอำเภอตะโหมด และที่ตั้งของสถานีอนามัย จังหวัดพัทลุง ณ วันที่
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการพัฒนามาตรฐานการผลิตอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่ายเข้าสู่มาตรฐาน Primary GMP

1.การตรวจประเมินสถานที่ผลิตอาหารPrimary GMP 1.1ตรวจประเมินสถานที่ผลิต -ดำเนินการร่วมกับทีม PGMP ระดับอำเภอ -สถานที่ผลิตที่ได้รับอนุญาตแล้ว จัดทำแผนออกตรวจเดือนม.ค.-ก.พ.58 ตรวจประเมินให้มีคะแนนประเมินมากกว่าร้อยละ60 -สถานที่ผลิตที่ยังไม่ได้รับอนุญาต -จัดอบรมให้ความรู้เรื่อง PGMP แก่ผู้ประกอบการที่ยังไม่ได้รับอนุญาต และเจ้าหน้าที่รพ.สต. กลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 125 คน (6ก.พ.58) (ปี 2557 เน้นผลิตภัณฑ์เครื่องแกง ผลงาน-อนุญาตแล้ว 10 ราย ปี 2558 เน้นผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุง ผลงาน-อนุญาตแล้ว 5 ราย) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง

1.การตรวจประเมินสถานที่ผลิตอาหารPrimary GMP -ลงพื้นที่ ณ สถานที่ผลิตเพื่อให้คำแนะนำในการปรับปรุงพัฒนา (มี.ค.-พ.ค.58) -กรณีครั้งที่ 1ไม่ผ่านเกณฑ์ ลงประเมินซ้ำและให้คำแนะนำจนผ่าน เกณฑ์มาตรฐาน(มิ.ย.-ก.ค.58) 1.2เก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์ส่งตรวจวิเคราะห์ 20 ตัวอย่าง(ก.พ.58) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง

1.การตรวจประเมินสถานที่ผลิตอาหารPrimary GMP 1.3จัดทำฐานข้อมูลสถานที่ผลิตและข้อมูลการพิจารณาอนุญาต -สถานที่ผลิตที่เข้าข่าย PGMP ทั้งหมด 85 แห่ง -สถานที่ผลิตที่ได้รับอนุญาตตามเกณฑ์ PGMP แล้ว จำนวน 60 แห่ง -สถานที่ผลิตที่จะพัฒนาให้ผ่านเกณฑ์ จำนวน 25 แห่ง ที่มายื่นขออนุญาต(ต.ค.-ธ.ค.57) จำนวน 3 แห่ง สรุป เป้าหมายสถานที่ผลิตที่จะพัฒนาให้ผ่านเกณฑ์ 22 แห่ง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง

1.การตรวจประเมินสถานที่ผลิตอาหารPrimary GMP อำเภอ สถานที่ผลิต(ทั้งหมด) ได้รับอนุญาต ไม่ได้รับอนุญาต เมือง 34 27 7 กงหรา 6 5 1 เขาชัยสน 4 3 ควนขนุน 13 8 ปากพะยูน 2 ตะโหมด ศรีบรรพต บางแก้ว - ป่าพะยอม ศรีนครินทร์ 9 ป่าบอน รวม 85 63 22 ที่มา ข้อมูลการขึ้นทะเบียนOTOPของพัฒนาชุมชนและการสำรวจของทีมPGMPระดับอำเภอ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง

2.พัฒนาสถานที่ผลิตPGMPต้นแบบ ได้แก่ ขนมปั้นขลิบน้องหนึ่ง ต.ชัยบุรี อ.เมือง จ.พัทลุง 1.สถานที่ผลิตมีคะแนนประเมินหมวด1และหมวด2ร้อยละ60ขึ้นไป และ มีความพร้อมในการพัฒนา 2.ดำเนินการร่วมกับทีมPGMPระดับอำเภอในการพัฒนาสถานที่ผลิต จนมี คะแนนประเมินทุกหัวข้อรวมร้อยละ 90 3.ผลิตภัณฑ์ที่ผลิต คือ ปั้นขลิบไส้ต่างๆ ได้แก่ ปั้นขลิบไส้ปลา ปั้นขลิบไส้ไก่ ปั้นขลิบไส้เห็ด และปั้นขลิบไส้ต้มยำกุ้ง และกำลังพัฒนาเพิ่ม ได้แก่ ปั้นขลิบ ไส้หวาน(ไส้ถั่ว) ปั้นขลิบไส้หมูหยอง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง

2.พัฒนาสถานที่ผลิตPGMPต้นแบบ 4.ผลิตภัณฑ์ส่งออกไปตลาดต่างประเทศ ได้แก่ ออสเตรเลีย อินโดนีเซีย ฮ่องกง จีน และ พม่า ปี 2558 กำลังขยายตัวไปยังประเทศเวียดนาม ลาว สิงคโปร์ และมาเลเซีย 5.สถานที่ผลิตมีร้อยละการขยายตัวของยอดขายผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น โดย -ปี2555ยอดขาย26.4ล้าน/ปี และปี2556 ยอดขาย30ล้าน/ปี ยอดขายเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.64 -ปี2557ยอดขาย36ล้าน/ปี ยอดขายเพิ่มขึ้นร้อยละ 20 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ พื้นที่ จ.พัทลุง ผู้ประกอบการส่วนใหญ่เป็นผู้ประกอบการรายย่อย กลุ่มแม่บ้าน และกลุ่มวิสาหกิจชุมชน มีทุนน้อยในการพัฒนาสถานที่ผลิตให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน Primary GMP (ส่วนใหญ่ไม่ผ่านเกณฑ์ประเมินหมวด1สถานที่ตั้งและอาคารผลิต หมวด2เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิต)จึงต้องใช้ระยะเวลาและงบประมาณในการดำเนินการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง

Primary GMP

Primary GMP

Primary GMP

Primary GMP

Primary GMP

Primary GMP

Primary GMP