นโยบายอาญาและการป้องกันอาชญากรรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน้าที่ของผู้บริหาร.
Advertisements

รายงานผลการศึกษาทางจิตวิทยา นักเรียนหญิงก่อเหตุทำร้ายกัน
การเฝ้าระวังนักเรียน นักศึกษา ในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การเฝ้าระวังและเตือนภัยทางสังคม
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
การค้ามนุษย์ การค้ามนุษย์ สภาพปัญหา ผลกระทบ แนวทางการแก้ไขปัญหา.
การค้ามนุษย์ นายอนุภาพ ปวงสายใจ คพ50.ค
การค้ามนุษย์.
การค้ามนุษย์.
การค้ามนุษย์ ความหมายของการค้ามนุษย์ สภาพปัญหาของการค้ามนุษย์
การค้ามนุษย์.
การค้ามนุษย์.
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
สัปดาห์ที่ 6 เรื่อง วิธีการดำเนินงานสุขศึกษา ในสถานที่ต่างๆ
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
Research Mapping.
เขตแดน และ เขตอำนาจรัฐ
การบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กิจกรรมนันทนาการ.
ประเด็นบรรยาย เรื่อง บทบาทและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ของผู้ตรวจการสหกรณ์
การพัฒนานักเรียนโดยครูและโรงเรียน
วิชานายตรวจสรรพสามิต
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าทางการศึกษา
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
พัฒนาทักษะการจัดกระบวนการการจัดการความรู้เพื่อโครงการจัดการความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขกับงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับชุมชน ผศ สุนทรี วิทยานารถไพศาล ห้อง 405อาคารโอสถศาลา.
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 มาตรา 66 บุคคลซึ่งรวมกันเป็นชุมชน ชุมชนท้องถิ่น หรือชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม.
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
การค้ามนุษย์.
การจัดการ องค์กร อาชญากรรม สัตว์ป่าและพืช ป่า กลุ่ม 4.
การบริบาลเบื้องต้นในหน่วยบริการปฐมภูมิ PUBH 224_Basic Medical Care in Primary Care Unit Benjawan Nunthachai.
๑. อำนาจหน้าที่ของ อปท. ๒. หน่วยงานต่าง ๆ ได้ขอรับการสนับสนุน จาก อปท
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
การเพิ่มผลผลิต Productivity
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
หลักการยอกยาการ์ตา คำปรารภ
บทเรียนการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย
การบริหารและกระบวนการวางแผน
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
เงื่อนไขการรับฟ้องและ ในคดีปกครองด้าน สิ่งแวดล้อม
ใครเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ ตาม พระราชบัญญัติเครื่องสำอางบ้าง?
ความยากจนกับสังคมไทย ปัญหาและทางออก
นางสาวพรศิริ กลิ่นบำรุง วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยามในพระอุปถัมภ์ ฯ
การติดตาม และการควบคุม (Monitoring and Control)
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ของผู้ช่วยพยาบาล(1)
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
ตำรวจร่วมมวลชน ลดอาชญากรรม(ตมอ.)
กฎหมายที่เกี่ยวกับกระบวนงาน การสอบสวนคดีนอกราชอาณาจักร
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
วิชา หน้าที่พลเมืองฯ ม.1
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
บทที่ 4 หลักและวิธีการพัฒนาชุมชน
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การจัดการงานบุคคลของสหกรณ์ออมทรัพย์
ความเป็นครู.
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
พฤติกรรมผู้บริโภค (CONSUMER BEHAVIOR)
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
นิเวศวิทยาการเมือง : ความยั่งยืนทางนิเวศในสังคมไทย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบายอาญาและการป้องกันอาชญากรรม วิวัฒนาการของนโยบาย การป้องกันสังคมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

แนวความคิดจากผลงานของ Marc Ancel การป้องกันสังคมจำเป็นจะต้องศึกษาวิเคราะห์อย่างต่อเนื่อง ในกรณีที่จำเป็นอาจต้องปฏิรูประบบงานและเปลี่ยนแปลงค่านิยม การนำศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ (สหวิทยาการ) และวิธีการวิจัยทางวิทยาศาสตร์มาใช้ การวิเคราะห์ การประเมินผล การปรับปรุงสถาบันที่ทำหน้าที่ป้องกันอาชญากรรมให้ทันสมัย ให้ทันการเปลี่ยนแปลงของสังคม

แนวความคิดจากผลงานของ Marc Ancel การป้องกันสังคมมิใช่การแก้แค้นทดแทนหรือการลงโทษผู้กระทำความผิดอย่างรุนแรง แต่ควรจะใช้วิธีการป้องกันการกระทำความผิด และการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำความผิด ในบริบทของการจัดระเบียบทางสังคม การแสวงหาและการส่งเสริมการนำกฎหมายอาญามาใช้อย่างมีมนุษยธรรม การนำวิธีการอื่นมาปรับใช้แทน เช่นวิธีการตามกฎหมายแพ่ง กฎหมายปกครอง การให้การศึกษา การสาธารณสุข การสวัสดิการสังคม หรือระบบการช่วยเหลือสังคม และแนวทางสังคมกฎหมายในการแก้ปัญหาอาชญากรรม

แนวความคิดจากผลงานของ Marc Ancel การป้องกันสังคมจำเป็นจะต้องใช้วิธีการลงโทษ และนโยบายทัณฑวิทยาบนพื้นฐานของการเคารพความเป็นมนุษย์ การคุ้มครองปัจเจกชนและการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน การใช้ความพยายามปฏิรูปและสร้างสรรค์ระบบงานป้องกันอาชญากรรมและแก้ไขผู้กระทำความผิดเป็นสิ่งที่ควรกระทำในแนวทางสากล โดยการศึกษาเปรียบเทียบ ความร่วมมือกับต่างประเทศระหว่างนักกฎหมาย อาชญาวิทยา สังคมวิทยา

ข้อเสนอของ Albert J. Reiss, Jr. การป้องกันสังคมเป็นวิวัฒนาการทางแนวความคิด กระบวนการที่ทำให้ใช้กฎหมายน้อยลง (De- Jurisdicization)

ข้อเสนอของ Reiss ต่อ สถานะของเหยื่ออาชญากรรม มีนัยสำคัญทางด้านการกำหนดนโยบายทางอาญา การป้องกันบุคคลมิให้ตกเป็นเหยื่ออาชญากรรม (Preventing Victimization) การป้องกันมิให้บุคคลหรือองค์กรไปทำร้ายผู้อื่น (Preventing Person or Organization from Harming Others)

วัตถุประสงค์ของกระบวนการยุติธรรม (ป้องกันสังคม) ลงโทษผู้กระทำความผิด หรือจำกัดการกระทำความผิดเพื่อมิให้ผู้นั้นทำร้ายผู้อื่นได้อีกต่อไป (Specific Deterrence) ยับยั้ง ข่มขู่หรือทำให้หวาดกลัวที่จะกระทำความผิด (General Deterrence)

การป้องกันมิให้เกิดเหยื่อ การควบคุมอาชญากรรมมิให้เกิดขึ้นหรือ เกิดขึ้นน้อยที่สุด หรือทำให้ผู้กระทำความผิดมิให้กระทำความผิดต่อไป เป้าหมายของการป้องกันการกระทำความผิดของเด็กและเยาวชน และการป้องกันสังคมยุคใหม่ได้แก่การเปลี่ยนแปลงผู้กระทำความผิดโดยเน้นการแก้ไขฟื้นฟู (Treatment) ได้แก่การใช้ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ – การศึกษา- การเปลี่ยนแปลพฤติกรรม- การแก้ไขทางร่างกายและจิตใจ เป็นต้น อันเป็นเป็นหมายแก้ไขเปลี่ยนแปลงผู้กระทำความผิดเพื่อมิให้เกิดเหยื่ออาชญากรรม มากกว่าการป้องกันการตกเป็นเหยื่ออาชญากรรม

การป้องกันการตกเป็นเหยื่อ การลดโอกาสในการประกอบอาชญากรรม โดยใช้ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การปฏิบัติต่ออาชญากรรมที่ใช้ความรุนแรง แสวงหา วิธีป้องกันพฤติกรรมที่เป็นอันตรายหรือสร้างความบาดเจ็บให้แก่สุขภาพอนามัยของประชาชน (โดยไม่คำนึงถึงการวินิจฉัยทางด้านศีลธรรมหรือความประพฤตินั้น ในขณะที่พื้นฐานของกระบวนการยุติธรรมทางอาญาอาศัยการวินิจฉัยทางด้านศีลธรรมอันดีหรือพฤติกรรมของบุคคล ว่าการกระทำนั้นเป็นความผิดหรือไม่เป็นความผิด ชอบหรือไม่ชอบด้วยกฎหมาย

แนวทางสาธารณสุข (Public Health) การป้องกันปฐมภูมิ (Primary) การป้องกันก่อนการเกิดเหตุการณ์ซึ่งก่อให้เกิดการบาดเจ็บหรืออันตราย การป้องกันทุติยภูมิ (Secondary) การป้องกันอันตรายในรูปแบบอื่น ๆ มิให้เกิดขึ้นในขณะเกิดเหตุ หรือการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินเพื่อยับยั้ง หรือป้องกันภัยพิบัติ การป้องกันตติยภูมิ (Tertiary) การเยียวยาผลเสียหายอันเกิดจากเหตุการณ์