กลุ่มสับปะรด 1. นายนิวัต ใจรินทร์ สนง.กษจ.ลำปาง(ประธาน )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวางแผนกำหนดกลยุทธ์ทางการตลาด
Advertisements

 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
การพัฒนาเครือข่ายสถาบันเกษตรกรผู้ปลูกกาแฟ Coffee Cooperative Networks
เกษตรกรรุ่นใหม่ และ Smart Farmer
Product and Price ครั้งที่ 8.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
นโยบายคณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ (Egg Board)
การถอดความรู้ เรื่องการผลิตสับปะรดโรงงาน
เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ คชก.
ต้นทุน(บาท/กิโลกรัม)
ระบบการบริหารการตลาด
ชื่อ กนกภรณ์ นามสกุล บุญทรง รหัสนักศึกษา ชั้นปีที่ 2 ภาควิชา พัฒนาการเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
กลยุทธการผลิตและการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวของประเทศไทย
โครงการที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ.
ดร. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
อุตสาหกรรมเด่นของไทย มูลค่าส่งออก (ล้านบาท)
คุณสมบัติ ของ Smart Farmer -  1. รายได้ไม่ต่ำกว่า 180,000 บาท/ครัวเรือน/ปี  2. ผ่านคุณสมบัติพื้นฐาน (ผ่านอย่างน้อย 1 ตัวบ่งชี้ ของคุณสมบัติแต่ละด้าน)
ยุทธศาสตร์การค้าสินค้าเกษตรอินทรีย์ของกระทรวงพาณิชย์
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
มูลค่าการส่งออก-นำเข้าสินค้าไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ ปี
ไทยได้ประโยชน์อะไร จากการเปิดเสรีอาเซียน-จีน
สระแก้ว.
ภาควิชาพัฒนาการเกษตร
นาย ณัฐวุฒิ คง นุ่น รหัสนักศึกษา นาย ณัฐวุฒิ คง นุ่น รหัสนักศึกษา ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาวัยสงขลานครินทร์
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายอามะ แวดราแม
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายเชาว์ แสงสว่าง
กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 1 ดอกแก้วภูพาน จ. สกลนคร จ. สุรินทร์ จ. หนองคาย จ. หนองบัวลำภู จ. อุดรธานี
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ นายสมเกียรติ วิจิตรประเสริฐ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร สัมมนาเชิงปฏิบัติการการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการเกษตร.
การพัฒนาศักยภาพการผลิตลำไยคุณภาพภาคเหนือ ปี
แนวคิดเครือข่ายและการประยุกต์ใช้ทางธุรกิจ
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
โครงการ จัดระบบสินค้าเกษตรในระดับพื้นที่
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตพืชเศรษฐกิจ (สับปะรด)
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
กลุ่มที่ 11 กลุ่ม ศรีวิชัย
โดย...นายประเสริฐ ดอยลอม หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ
สำนักงานเกษตรจังหวัดขอนแก่น
แผนปฏิบัติงาน 5 ปี (2553 – 2557) นิคมการเกษตรข้าวหอมมะลิ
ทิศทางการพัฒนาการเกษตรไทย
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
ผู้ช่วยเลขา สามารถจัดตั้งกองทุนพัฒนา อาชีพการเกษตร เพื่อช่วยเหลือ เกษตรกรเป็น แบ่งการบริหาร ลงในกลุ่มรับผิดชอบทั้งหมด 5 กลุ่ม คือ 1. กองทุนพันธุ์สัตว์
1 5 มีนาคม 2552 ดร. อภิชาติ พงษ์ ศรีหดุลชัย เครือข่าย สารสนเทศ ข้าวไทยใน อนาคต.
แนวทางการดำเนินงานโครงการ ที่สำคัญของกรมการข้าว ปี 2555
แนวทางการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าวนาปี โดย สำนักพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
สัมมนากลุ่ม 3 คำถามข้อที่ 2 และ 5 เขต 7, 8, 9 21/8/14.
ชี้แจงแนวทาง การช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ในฤดูการผลิต ปี 2557/58
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
วาระแห่งชาติด้านการเกษตร (National Agenda)
ความร่วมมือไทย-ลาว ในเรื่อง Contract Farming (CF)
Supply Chain สินค้าเกษตร ในสหกรณ์การเกษตร
ผลการดำเนินงานวิจัยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดตรัง
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายมะหะหมัด โต๊ะยะลา
เรื่องที่นักส่งเสริมการเกษตรควรรู้
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลและ อำเภอทุ่ง ช้าง จังหวัดน่าน ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย จิตร เสียงกอง เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลหนองข่า อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย อัมพร เหง้ากอก เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
คำขวัญประจำจังหวัด เหนือสุดในสยาม ชายแดนสามแผ่นดิน ถิ่นวัฒนธรรมล้านนา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มสับปะรด 1. นายนิวัต ใจรินทร์ สนง.กษจ.ลำปาง(ประธาน ) 1. นายนิวัต ใจรินทร์ สนง.กษจ.ลำปาง(ประธาน ) 2. นางศันสนีย์ เกษตรสินสมบัติ สนง.กษจ.ประจวบฯ (เลขานุการฯ) 3. นายทองพูน แซงภูเขียว สนง.กษจ.ชัยภูมิ 4.นายประจวบ เพ็งประไพ สนง.กษจ.พัทลุง 5.นางมลทิรา ทันเพื่อน สนง.กษจ.ภูเก็ต 6. นางทรงพร อ้อมค้อม สนง.กษจ.อุตรดิตถ์ 7.นายสมบัติ ทรงโฉม กรมส่งเสริมการเกษตร

สถานการณ์การผลิตสับปะรดของไทย ประเทศไทยเป็นผู้ผลิตและส่งออกผลิตภัณฑ์สับปะรดอันดับ 1 ของโลก มูลค่า ประมาณ 25,000 ล้านบาทต่อปี ผลผลิตประมาณ 2 ล้านตัน / ปี ผลผลิต ร้อยละ 70 ส่งเข้าโรงงานแปรรูป ร้อยละ26 บริโภคผลสดในประเทศ ร้อยละ 4 ผลสด ส่งออกต่างประเทศ

สถานการณ์การผลิตสับปะรด ของประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน ฟิลิปปินส์และอินโดนีเซีย เป็นคู่แข่งที่สำคัญของไทย มีบริษัทใหญ่เป็นเจ้าของการผลิตครบวงจร มีเทคโนโลยีการผลิตที่ดี ต้นทุนการผลิตต่ำ

ศักยภาพการแข่งของไทย กับประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน คุณภาพผลผลิตของไทย ต่ำกว่าคู่แข่ง ต้นทุนการผลิตของไทย สูงกว่าคู่แข่ง

สถานการณ์การผลิตสับปะรด มีข้อได้เปรียบ-เสียเปรียบอย่างไร ข้อได้เปรียบ-ไทย มี พท.ปลูกมาก มีเกษตรกรรายย่อย มีโรงงานฯที่มีเทคโนโลยีการผลิตสูง สินค้าสับปะรดมีความหลากหลาย ข้อเสียเปรียบ ต้นทุนการผลิตสูง คุณภาพยังไม่ดีเท่าที่ควร ผลผลิตต่อไร่ต่ำ ออกกระจุกตัว โรงงานฯไม่มีตราสินค้าเป็นของตัวเอง ไม่มีระบบcontract farming

ปัญหางานส่งเสริมฯที่เกิดขึ้นในพื้นที่ พท.ปลูกลดลง ต้นทุนการผลิตสูง(ปุ๋ย-ยา –ค่าแรงงาน ราคาสูง) แรงงานขาดแคลน เกษตรกรอายุมาก ลูกหลานไม่สืบทอดอาชีพ เทคโนโลยีการผลิตมีหลากลายไปตามพื้นที่ต่างๆ ระบบ โซนนิ่ง และ contract farming ยังไม่เกิด การรวมกลุ่มไม่เข้มแข็ง โรงงานไม่มีมาตรฐานรับซื้อที่แน่นอน

แนวโน้มในการเพิ่ม/ลด พื้นที่ปลูก พท.ปลูกลดลงเนื่องจากมีการปรับเปลี่ยนไปปลูกยางพารา ปาล์มน้ำมัน อดีตราคาตกต่ำ เกษตรกรจึงเลิก หรือ ลดพท.ปลูกสับปะรด

ต้นทุนการผลิตสับปะรด ภาคตะวันออก 4.26 บาท/กก ภาคตะวันออก 4.07 บาท/กก ภาคเหนือ 3.40 บาท/กก ต้นทุนภาพรวมของประเทศ 3.91 บาท/กก

แนวทางการส่งเสริม ด้านการผลิต - เชิงรุก 1.โซนนิ่งและขึ้นทะเบียนเกษตรกร - เชิงรุก 1.โซนนิ่งและขึ้นทะเบียนเกษตรกร 2. วิจัยและพัฒนาพันธุ์ 3. สร้างความเข้มแข็งให้สถาบันเกษตรกร

- เชิงรับ 1. ถ่ายทอดเทคโนโลยีGAP 2. มีศูนย์เรียนรู้ในพื้นที่ 3.ส่งเสริมระบบ contract farming 4. สนับสนุนจัดหาแรงงานที่ถูกต้อง 5.ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคเหี่ยว

ด้านการตลาด เชิงรุก 1. รณรงค์ส่งเสริมการบริโภคผลสดและผลิตภัณฑ์ในประเทศ 2. หาตลาดใหม่ในการส่งออก 3. ส่งเสริมการส่งออก สับปะรดผลสด 4. เพิ่มช่องทางการจำหน่ายสับปะรดในประเทศ เชิงรับ 1. สร้างตราสินค้า สับปะรดไทย

ด้านการแปรรูป เชิงรุก - ด้านการแปรรูป เชิงรุก -.สนับสนุนการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ที่สร้างมูลค่าเพิ่ม เชิงรับ - สนับสนุนการจัดหาแรงงานที่ถูกต้องให้กับโรงงานฯ

ด้านการบริหารจัดการ เชิงรุก 1.สนับสนุนการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลสารสนเทศสับปะรด 2. สนับสนุนการจัดตั้งกองทุนพัฒนาสับปะรด 3. สนับสนุนการจัดตั้งศูนย์บริหารการจัดการสับปะรด3ฝ่าย

ขอขอบคุณครับ