ผู้จัดทำ เด็กหญิงเมธาวิณี ฤาชัย ม.2/4 เลขที่ 44 เด็กหญิงสิรามล เป็งทา ม.2/4 เลขที่ 10 เด็กหญิงกนกอร กาละธรรม ม.2/4 เลขที่ 8 เด็กหญิงหทัยรัตน์ สุตา ม.2/4.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Story boavd.
Advertisements

ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์
ทุพภิกขภัย 1.นส.กชกร อ่วมบุญลือ ม.4/5 เลขที่ 9
ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
อาหารและโภชนาการ โรงเรียนวัดสะแกงาม นายทรงสวัสดิ์ แสงมณี
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
การเลิกสูบบุหรี่ด้วยตัวเอง
ด.ญ.กุลจิรา ยอดมณี เลขที่ 19 ม.3/1
สบู่สมุนไพร.
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
ชื่อ เด็กหญิง รัตนา ศรีรัตน์ ชั้นม.3/2 เลขที่4
~ ชาเขียว ~.
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การทดลองหาแป้งในยาสีฟัน ( วิทยาศาสตร์ )
สุขบัญญัติ 10 ประการณ์ 1. ดูแลรักษาร่างกายและของใช้ให้สะอาด
หน่วยประปา เรื่อง การควบคุมคุณภาพน้ำอุปโภค/บริโภค
การทดสอบแป้ง ในผงซักฟอก
โดย นางสาวพรทิพย์ คำกายปรง
เรื่องคลอรีนในน้ำบรรจุขวด
เอกสารประกอบการเรียน วิชา พ.21102
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
ท้องผูก Constipation จัดทำโดย ด.ช.กันตภณ พลับจีน ม.1/4 เลขที่ 3
การบริหารจัดการด้านอุบัติภัยสารเคมี
จับประเด็นเตรียมพร้อมสู่HA
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
จัดทำโดย… นาง สุรินทร์ สามใจ ผู้ช่วยพยาบาลหน่วยรับ- ส่ง
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
การจัดหาน้ำสะอาด อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
เรียนรู้ดูประสบการณ์จริง
ผงชูรสแท้หรือปลอม.
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
โครงการ น้ำดื่มสะอาดปลอดภัย ในโรงเรียน
การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
ชาเขียว สารสกัดจากใบชา
การล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล
การเตรียมชุมชน ก่อนพ่นสารเคมี
เรื่อง น้ำยาไล่แมลงวัน
เรื่อง เครื่องดูดฝุ่น
สายใยในผัก โดย กลุ่ม รักสุขภาพ.
สวัสดีค่ะ.
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
1 ผักปลอดสารพิษ ผลผลิตพืชผักที่ไม่มีสารเคมีป้องกันและกำ จัดศัตรูพืชตกค้างอยู่ หรือมีตกค้างอยู่ไม่เกินระดับมาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้
การเก็บตัวอย่างและนำส่งตัวอย่าง ทางห้องปฏิบัติการด้านอาหาร
โรคอุจจาระร่วง.
เครื่องถ่ายเอกสาร.
เครื่องม้วนผม.
เหตุการณ์จำลองกรณีเกิดแผ่นดินไหว
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
9 วิธีแก้โรคนอนไม่หลับ นางสาว ศิรินภา เบิกบาน เอก อนามัยสิ่งแวดล้อม
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
ชื่อผลงาน ถุงมหัศจรรย์.
1.ใช้ถ่านไฟฉายที่สามารถบรรจุไฟได้ใหม่
ข้อคำถามที่ 1 จงตอบคำถามต่อไปนี้
องค์ประกอบที่4การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
อาหารเป็นพิษ จังหวัดเชียงใหม่
วิชา งานสีรถยนต์.
เรื่อง น้ำสมุนไพร. โดย เด็กหญิง นิศาชล เทพวงค์. มัธยมศึกษาปีที่ 1/3
หลักการเลือกซื้ออาหาร
สารที่ใช้ในการทำความสะอาด
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
ผลไม้เพื่อสุขภาพ จัดทำโดย ด.ญ.ดลยา มณีขัติย์ ชั้น ม.1/12 เลขที่ 18
ผลไม้ตระกูลเบอร์รี่ จัดทำโดย ด.ช. ธนันทร ดอกเกี๋ยง ม.1/2 เลขที่8 เสนอ
หัวข้อย่อย 1. ปัญหาที่เกิดขึ้นมีสาเหตุมาจากอะไร 2. ส่งผลกระทบต่อสิ่งใดบ้าง 3. มีวิธีการแก้ไขอย่างไร 4. หากไม่ใช้คลอรีนในการฆ่าเชื้อโรคในน้ำดื่ม ควรเลือกใช้อะไรแทน.
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
10 อันดับน้ำผลไม้เพื่อสุขภาพ
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
บทที่ 6 เกร็ดความรู้เกี่ยวกับอาหาร และเครื่องดื่ม
น้ำสนุมไพร ถัดไป.
น้ำสมุนไพร ถัดไป.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้จัดทำ เด็กหญิงเมธาวิณี ฤาชัย ม.2/4 เลขที่ 44 เด็กหญิงสิรามล เป็งทา ม.2/4 เลขที่ 10 เด็กหญิงกนกอร กาละธรรม ม.2/4 เลขที่ 8 เด็กหญิงหทัยรัตน์ สุตา ม.2/4 เลขที่ 13 เด็กหญิงวรรณภา ยิ้มแย้ม ม.2/4 เลขที่ 12

 1. บอกกล่าวแก่ภารโรงเพื่อให้ภารโรงจัดการ  2. แนะนำการใช้คลอรีนในปริมาณที่เหมาะสมแก่ ผู้รับผิดชอบ  3. หมั่นทำความสะอาดถังบรรจุอยู่เสมอ  4. แจ้งไปยังผู้อำนวยการ  5. พกน้ำดื่มมาดื่มเอง  หมายเหตุ... เนื้อหาบางส่วนนั้นพวกเราได้นำมาจาก หนังสือและสอบถามผู้ได้รับผลกระทบ

 ไอโอดีน เราจะพบเห็นได้บ่อย และเป็นทางเลือกที่เหมาะสมกว่า คลอรีน ไอโอดีนจะทำให้น้ำสะอาด แต่น่าเสียดายที่ไอโอดีนไม่ สามารถฆ่าโปรโตซัว Cryptosporidium ซึ่งเป็นปัญหาที่พบมากใน ประเทศไทย (Cryptosporidium จะไม่ออกฤทธิ์ทันทีทันใดต่อ ร่างกาย แต่จะออกฤทธิ์ประมาณ 4 วัน หลังจากที่ดื่มเข้าไป ส่งผล ให้เกิดอาการท้องเสียอย่างรุนแรง และออกฤทธิ์อยู่นาน 10 วัน ) ไอโอดีนเหมาะที่จะใช้กับน้ำที่มีลักษณะใส ถ้าน้ำที่ขุ่นและมีสิ่ง สกปรกปะปนอยู่ในน้ำ ต้องกรองด้วยผ้าก่อน ( ในกรณีที่อยู่ในป่า สามารถใช้เสื้อผ้ากรองได้ ) แล้วจึงใส่ไอโอดีนในอัตราส่วน 4 หยด ต่อน้ำหนึ่งลิตร และสามารถเพิ่มจำนวนได้ถึง 8 หยด ในกรณีที่น้ำ ขุ่นหรือค่อนข้างสกปรก และทิ้งไว้อย่างน้อย 30 นาทีก่อนที่จะดื่ม แต่ไอโอดีนมีกลิ่นฉุน ปัญหาเรื่องกลิ่นของไอโอดีนในน้ำ แก้ได้โดย คุณสามารถใส่วิตามิน C เม็ด ลงในน้ำหลังจากหยดไอโอดีนแล้ว 30 นาที เพื่อช่วยกลบรสชาติของไอโอดีนลง ( ข้อควรระวัง ! อย่าใส่ วิตามิน C ลงในน้ำก่อน 30 นาที เพราะอาจทำให้ไอโอดีนออกฤทธิ์ ไม่เต็มที่ ) การใช้ไอโอดีน เป็นการทำให้น้ำสะอาดปลอดภัย แต่ก็มี ข้อจำกัด คือ คนที่เป็นโรคไทรอยด์ หรือคนที่แพ้สารไอโอดีน และ หญิงมีครรภ์ ไม่ควรดื่มน้ำที่ใส่ไอโอดีน และที่สำคัญที่สุด คือ ไอโอดีนไม่มีฤทธิ์ในการฆ่าโปรโตซัว Cryptosporidium ในน้ำ ซึ่ง เป็นสาเหตุของโรคท้องร่วง

 1. คณะครู  2. นักเรียน  3. ผู้บริโภคท่านอื่น  4. เกิดเป็นปัญหาให้ผู้บริหาร  5. สุขภาพร่างกายของนักเรียนหรือผู้บริโภค