การเขียน Abstract บทคัดย่อ (เรื่องย่อ)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยงานจักษุกรรม รพ.ค่ายวชิราวุธ.
Advertisements

ปรับปรุงครั้งล่าสุด 26/04/53 โดย จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส.
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
Sulperazon.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Graduate School Khon Kaen University
Service Plan สาขา NCD.
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
พยาบาลเปรมจิตร คล้ายเพ็ชร์ งานการพยาบาลศัลยศาสตร์ฯ
Seminar in computer Science
ผลการคัดกรองโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
การพัฒนาตัวชี้วัดสุขภาพผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาจังหวัดลำพูน Development of Elderly Health Indicators in Thailand.
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัย (เชิงปริมาณ)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติรอบที่ 1 ปีงบประมาณ จังหวัดสุรินทร์
การให้การปรึกษาทางพันธุศาสตร์ ธาลัสซีเมีย
การเขียนรายงานการวิจัย
น้องเลี้ยง : นายสุริโย ชูจันทร์ หน่วยงาน : สคร.ที่ 11 นครศรีธรรมราช
การพัฒนางานประจำสู่การวิจัย Routine to Research : R2R
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
การศึกษาอัตราการเกิดอุบัติเหตุฯ ระหว่าง ปฎิบัติงานของบุคลากรทางการแพทย์และ สาธารณสุขของโรงพยาบาลพุทธชินราช.
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
การเขียนบทคัดย่อ และ Abstract
หลักการนำเสนอ ข้อมูลสถิติ
สรุปการประชุม เขต 10.
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบริการผู้ป่วยโรคจิตให้เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นในพื้นที่ เป้าหมาย จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ.
ชื่อโครงการ.
การเขียนรายงานการสอบสวนทางระบาดวิทยา
เป้าหมาย สตรีอายุ ปี 240,279 ผลงาน 65,541 (27.28 %) ผิดปกติ/ ส่งต่อ
การนำเสนอผลงานวิจัย จ.อุดรธานี
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวงสาธารณสุข ปี 2557
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
สารสนเทศกับการพัฒนางาน โรงพยาบาล
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
การทำผลงานวิชาการ สงวนลิขสิทธิ์.....โดย ดร.สุรชาติ สังข์รุ่ง.
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ยุทธศาสตร์การเสริมพลัง
ผลการดำเนินงานตามแนวทางพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาจักษุวิทยา จังหวัดปราจีนบุรี ตุลาคม 2556 – มิถุนายน 2557 พญ. นิภาภรณ์ มณีรัตน์
ชื่อนักวิจัย / ผู้ดำเนินงาน งบประมาณได้รับสนับสนุน บาท เบิกจ่ายแล้ว บาท ชื่อโครงการ สังกัดพื้นที่ คณะ สาขา รายงาความก้าวหน้าโครงการวิจัยและบริการ.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ศูนย์พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ผลลัพธ์การศึกษาสถานการณ์ การได้รับยาสลายลิ่มเลือด และค่าใช้จ่าย ของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ในโรงพยาบาลหาดใหญ่ กัลยาณี เกื้อก่อพรม พยม.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การดำเนินงานดูแลผู้ป่วยต้อหิน จังหวัดร้อยเอ็ด 2011
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
รายงานการประเมินตนเอง 4.3 ช. การดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การแก้ไขปัญหา การขอกำหนด ตำแหน่งทางวิชาการ ซี 9
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
16. การเขียนรายงานการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเขียน Abstract บทคัดย่อ (เรื่องย่อ) Prof Drs J Patumanond, MD, MPH, DSc MSc-PhD Program in Clinical Epidemiology Faculty of Medicine, Thammasat University

Types of Abstract Structured abstract Non-structured abstract มีโครงสร้าง (ขึ้นหัวข้อ) ชัดเจน Biomedical sciences Non-structured abstract ไม่มีโครงสร้าง (ไม่ขึ้นหัวข้อ) Social sciences

Structured Abstract (1) Full-structured ความสำคัญ (Importance) วัตถุประสงค์ (Objective) รูปแบบศึกษา สถานที่ และผู้ป่วย (Design, setting & participants) วิธีการวัดผล (Main outcomes & measurements) ผล (Results) [ตารางผล (Tables)] ข้อยุติและการนำไปใช้ (Conclusions & relevance) คำสำคัญ (Keywords)

Structured Abstract (2) Semi-structured วัตถุประสงค์ (Objectives) วัสดุและวิธีการศึกษา (Materials & Methods) ผลการศึกษา (Results) ข้อยุติ (Conclusions)

การส่ง Abstract สำหรับ การประชุมวิชาการเครือข่ายวิจัยโรงพยาบาล Structured แบบ Full-structured structures abstract with summary table or figure Content ครบถ้วน (อ่านรู้เรื่อง) ตรวจสอบกับคำชี้แจงของผู้จัดงานให้ตรงกัน ความยาว ไม่เกิน 1 หน้ากระดาษ A4 แบบอักษร Tahoma 11 pt กระดาษ A4 กั้นบนล่างซ้ายขวา 1 นิ้ว ตั้ง line spacing = single ระบุคำสำคัญ (keywords) 3 – 6 คำ ให้แปลจาก MeSH (Medical Subject Headings)

การเตรียม Structured Abstract ความสำคัญ (Importance) ~ 3-5 บรรทัด วัตถุประสงค์ (Objective) ~ 1 บรรทัด รูปแบบ สถานที่ ผู้ป่วย ~ 5-8 บรรทัด (Design, setting & participants) วิธีการวัดผล ~ 3-5 บรรทัด (Main outcomes & measurements) ผล (Results) ~ 5 บรรทัด [ตารางผล (Tables)] แทรกตาราง ข้อยุติและการนำไปใช้ ~ 5 บรรทัด (Conclusions & relevance) คำสำคัญ (Keywords) ~ 3-6 คำ

ตัวอย่าง Structured Abstract

คำสำคัญ: ต้อหิน ตาบอด สายตาพิการ ความดันลูกตา การรักษา ปัจจัยเสี่ยง บทคัดย่อ ความสำคัญ: โรคต้อหินเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้สายตาพิการ มีผลโดยตรงต่อคุณภาพชีวิตเป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุข ผู้ป่วยจำนวนมากมีความพิการทางสายตาเกิดขึ้นภายหลัง วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาลักษณะทั่วไปและลักษณะทางคลินิกที่มีผลต่อความพิการทางสายตา รูปแบบ สถานที่และผู้ป่วย: การศึกษาเชิงพรรณนา ที่โรงพยาบาลลำพูน ศึกษาผู้ป่วยโรคต้อหินที่มารับการรักษาที่คลินิกตาระหว่างเดือนมกราคมถึงมีนาคม พ.ศ. 2548 วิธีการวัดผล: รวบรวมข้อมูลทั่วไป ข้อมูลทางคลินิก การตรวจพิเศษ วิธีการรักษา ผลการควบคุมความดันลูกตา และสายตาหลังการรักษา วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ผล: ผู้ป่วยที่มารับการรักษาโรคต้อหินจำนวน 162 ราย มีประวัติโรคตาอื่นร่วมด้วยร้อยละ 24.1 มีอาการแบบเริ้อรังร้อยละ 72.8 เป็นต้อหินปฐมภูมิร้อยละ 80.9 มารับการตรวจรักษาสม่ำเสมอร้อยละ 85.8 หลังการรักษาควบคุมความดันลูกตาได้ร้อยละ 76.5 แต่ระดับสายตาเลวลงจนพิการร้อยละ 19.8 มีผู้ป่วยไม่ได้รับการตรวจลานสายตาร้อยละ 56.8 และไม่ได้รับการตรวจขั้วประสาทตาร้อยละ 75.3 ปัจจัยที่มีผลทำให้สายตาเลวลงจนพิการได้แก่ ควบคุมความดันลูกตาไม่ได้ ไม่มาตรวจตามนัด และอายุมากกว่า 60 ปี การรักษาด้วยการผ่าตัดมีแนวโน้มว่าควบคุมความดันลูกตาได้ดีกว่าการรักษาด้วยยา ข้อยุติและการนำไปใช้: พยากรณ์โรคและการดูแลผู้ป่วยโรคต้อหิน ยังไม่ดีเท่าที่ควร ผู้เกี่ยวข้องควรปรับปรุงระบบการดูแลผู้ป่วยด้วยแนวทางการดูแลผู้ป่วยที่ชัดเจน เพื่อควบคุมระดับความดันลูกตา และปรับปรุงการติดตามผู้ป่วยให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น คำสำคัญ: ต้อหิน ตาบอด สายตาพิการ ความดันลูกตา การรักษา ปัจจัยเสี่ยง ระดับสายตา >3/60 ระดับสายตา ≤3/60 ปัจจัยเสี่ยง จำนวน ร้อยละ  p-value อายุมากกว่า 60 ปี 91 70.0 29 90.6 0.023 รักษาด้วยยา 86 66.2 22 68.8 0.780 ควบคุมความดันตาไม่ดีหรือไม่ได้ 21 16.1 17 53.1 <0.001 มาตรวจตามนัดไม่สม่ำเสมอหรือไม่มา 11 8.5 12 37.5