การสร้างสมดุลของอาหารและพลังงาน บนฐานของการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน วิฑูรย์ เลี่ยนจำรูญ มูลนิธิชีววิถี (BioThai) www.biothai.net แผนงานความมั่นคงทางอาหาร - สสส
ความไม่เป็นธรรมในระบบอาหาร (1)
ความไม่เป็นธรรมในระบบอาหาร (2)
ความไม่เป็นธรรมเชิงโครงสร้าง (1) เครือข่ายหนี้สินชาวนาแห่งประเทศไทยประมาณการว่า มีเกษตรกรที่มีปัญหาจากการติดประกันจำนองถึง 38 ล้านไร่ คิดเป็นร้อยละ 35 ของพื้นที่การเกษตรทั้งประเทศ และเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบมีจำนวนถึง 3 แสนราย โดยพื้นที่ที่ติดประกันจำนองดังกล่าว มีภาวะเสี่ยงต่อการหลุดจำนองกว่า 8 ล้านไร่ เฉพาะเกษตรกรที่เป็นลูกหนี้ธ.ก.ส.และผิดนัดชำระหลายปีและพร้อมถูกดำเนินคดีมีจำนวนประมาณ 60,000 – 70,000 ราย
ความไม่เป็นธรรมเชิงโครงสร้าง (2) เอฟทีเอไทย-จีน มีผล ตุลาคม 2003 จำนวนครอบครัวเกษตรกรลดลงจาก 70,000 ครอบครัว เหลือ 46,000 ครอบครัว (2004-2007)
การผูกขาดและพึ่งพาเมล็ดพันธุ์ (ข้าวลูกผสม)
การผูกขาดและพึ่งพาเมล็ดพันธุ์ -มะละกอจีเอ็มโอ
การผลิตอาหารที่พึ่งพาเชื้อเพลิงฟอสซิล-1
การผลิตอาหารที่พึ่งพาเชื้อเพลิงฟอสซิล-2
1- ปฏิรูปที่ดินและขจัดปัญหาหนี้สินเกษตรกรโดยเร็ว
2- เปลี่ยนแปลงวิถีการผลิตสู่วิถีชีวภาพ(1)
2- เปลี่ยนแปลงวิถีการผลิตสู่วิถีชีวภาพ(2)
3- การสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาพันธุ์โดยเกษตรกร
4-การส่งเสริมวิถีการผลิตเพื่อบริโภค การศึกษาที่บ้านลุ่มบัว อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี
5-Food Self Sufficiency Ratio ราคาผลผลิตพืชอาหารของไทยเปรียบเทียบกับประเทศอื่น ภายใต้ความตกลงเอฟทีเอ
1 2 3 4 5 FOOD FIRST ! ความหมายของความมั่นคงทางอาหาร “สภาวะที่ประชาชนทุกคนมีสิทธิและได้รับอาหารที่เพียงพอ มีโภชนาการ และปลอดภัย โดยที่เกษตรกรรายย่อย ชาวประมง และชุมชนท้องถิ่นมีสิทธิในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ ความหลากหลายทางชีวภาพ สามารถพึ่งพาตนเองในด้านปัจจัยการผลิต ตั้งแต่ระดับชุมชนจนถึงระดับชาติในระดับสูง มีระบบการผลิต และการกระจายอาหารไปสู่ผู้บริโภคอย่างยั่งยืน เกื้อกูล และเป็นธรรม ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายในทุกระดับ รวมทั้งสามารถสืบทอดวัฒนธรรมอาหาร และวิถีชีวิตของท้องถิ่นที่เกื้อกูลต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมได้อย่างมั่นคง” 1 2 3 4 5