ภายใต้โครงการติดตามประเมินผลกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ 2553

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
Advertisements

แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ขับเคลื่อน....ความร่วมมือ.... ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ภาคเหนือ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ภาพกิจกรรมการจัดตลาดนัดความรู้ เรื่อง
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
สรุปผลการจัดทำ(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์(พ.ศ )
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
รายประเด็น ปีงบประมาณ 2553
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
คู่มือการจัดทำแผนปฏิบัติการ ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
เป้าหมายการประชุม บูรณาการการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลใน รพ.สต.
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
สรุปกิจกรรมการประชุมวันที่ 6 ตุลาคม 2553
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
แผนด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม เขตบริการสุขภาพที่ 5 ประจำปีงบประมาณ 2558
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
1 การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การติดตาม ประเมินผล กรมควบคุม โรค ปี 2553 วันที่ 2 มีนาคม 2553 เวลา – น. ณ ศูนย์ปฏิบัติการกรมควบคุมโรค อาคาร.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภายใต้โครงการติดตามประเมินผลกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ 2553 ผลการดำเนินงานและการใช้จ่ายงบประมาณ ไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม โดย ดร.นพ.สมเกียรติ ศิริรัตนพฤกษ์ ผู้อำนวยการสำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม เอกสารประกอบการประชุมติดตามผลการดำเนินงานและการใช้จ่ายงบประมาณไตรมาสที่ 1 ภายใต้โครงการติดตามประเมินผลกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ 2553 วันที่ 20 – 21 มกราคม 2553 ณ ฮิลล์ไซด์คันทรีโฮมกอล์ฟแอนด์รีสอร์ท จังหวัดปราจีนบุรี

งบประมาณโครงการที่ได้รับ ปี 2553 รวมทั้งสิ้น 17.98 ล้านบาท งบประมาณโครงการที่ได้รับ ปี 2553 รวมทั้งสิ้น 17.98 ล้านบาท P1 เสริมสร้างมาตรการลดปัจจัยเสี่ยงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯ 9.64 ล้านบาท P2 พัฒนาระบบบริหารจัดการและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทาง สธ. (PHER) 0.54 ล้านบาท P3 ศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนาวิชาการฯ 1.50 ล้านบาท P5 พัฒนาประสิทธิภาพระบบเฝ้าระวังข่าวกรองฯ 0.42 ล้านบาท P7 พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการองค์กร 3.01 ล้านบาท P8 แก้ไขปัญหามลพิษและเสริมสร้างคุณภาพชีวิต จ.ระยอง 3.15 ล้านบาท

ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2553 ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2553

สรุปการใช้จ่ายงบประมาณไตรมาสที่ 1 ประเภทงบ งบประมาณได้รับ เบิกจ่าย คิดเป็นร้อยละ 1. งบบุคลากร 30.92 7.39 23.90 2. งบดำเนินงาน 18.98 1.82 9.59 3. งบรายจ่ายอื่น (วิจัย) 0.72 รวม 50.62 9.21 18.19 *** หน่วยนับ เป็นล้านบาท

ผลการใช้จ่ายงบประมาณ จำแนกตามประเภทงบประมาณ ผลการใช้จ่ายงบประมาณ จำแนกตามประเภทงบประมาณ

ผลการใช้จ่ายงบประมาณ จำแนกตามผลผลิต ผลการใช้จ่ายงบประมาณ จำแนกตามผลผลิต

ผลการใช้จ่ายงบดำเนินงาน

ผลการใช้จ่ายงบดำเนินงานโครงการ จำแนกตามโครงการหลัก (P)

ผลการใช้จ่ายงบบุคลากรจำแนกตามผลผลิต

ผลการใช้จ่ายงบดำเนินงานจำแนกตามผลผลิต

ผลการดำเนินงาน โครงการสำคัญ ในไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2553 ผลการดำเนินงาน โครงการสำคัญ ในไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2553

โครงการพัฒนาการเฝ้าระวัง ความเสี่ยงในการทำงานของ กลุ่มแรงงานนอกระบบ ปี 2553 1. จัดทำร่างคู่มือการให้บริการฯ ของ PCU 2. จัดทำร่างแบบประเมินความเสี่ยงฯ แบบรายงานสถานการณ์ฯ 3. จัดทำแผนการนิเทศติดตามงาน สคร. 4. จัดประชุมชี้แจงการดำเนินงาน และใช้เครื่องมือประเมินความเสี่ยงฯ

โครงการพัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัย และประเมินความเสี่ยงทางสุขภาพเพื่อ เฝ้าระวังโรคจากการทำงานใน กลุ่มบุคลากรในโรงพยาบาล 1. สรุปผลตรวจประเมินฯ รพ. ของปี 2552 (ผ่านเกณฑ์ฯ ระดับ 1 ขึ้นไป 84.17%) 2. ประสานการบูรณาการเกณฑ์ประเมินผลฯ กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และปรับเข้า กระบวนการ HA 3. คัดเลือก รพ.เป้าหมายเพื่อพัฒนาการ จัดบริการอาชีวอนามัย

โครงการพัฒนาการดำเนินงาน เฝ้าระวังและจัดการปัญหาผลกระทบต่อสุขภาพจากสิ่งแวดล้อม จัดประชุมการจัดทำแนวทางการจัดการข้อมูลผลกระทบต่อสุขภาพจาสิ่งแวดล้อม 2. ร่างแนวทางการจัดการข้อมูลผลกระทบ ต่อสุขภาพจากสิ่งแวดล้อม 3. สรุปสถานการณ์และข้อมูลเพื่อคืนข้อมูล ให้ชุมชน

โครงการแก้ไขปัญหามลพิษและ เสริมสร้างคุณภาพชีวิตจังหวัดระยอง จัดทำแผนยุทธศาสตร์ชุมชน (SLM) แก้ไข ปัญหามลพิษกรณีมาบตาพุด 2. ประสานแผนบูรณาการงานกับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ จ.ระยอง

ผลงานที่สำคัญอื่นๆ จัดประชุมคณะกรรมการอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (24 ธ.ค. 52) จัดประชุม The Second Asian Asbestos Initiative International Seminar , Thailand 2009 (21 – 23 ธ.ค. 52) 3. จัดตั้งทีม PHER/SRRT Env.-Occ. 4. คณะทำงานเฉพาะกิจแก้ไขปัญหาสุขภาพกรณีบ่อขยะ จ.สระบุรี 5. สอบสวนโรค : สารเคมีรั่ว ท่าเรือแหลมฉบัง

แผนการดำเนินงาน ในไตรมาสต่อไป

สนับสนุนติดตามการดำเนินงาน, เทคนิควิชาการ จัดทำแนวทางสนับสนุนเครือข่าย จัดพิมพ์และสนับสนุนแบบประเมิน ความเสี่ยงฯ , คู่มือแนวทางเฝ้าระวังฯ วิเคราะห์ผลการดำเนินงาน , สถานการณ์ แรงงาน นอกระบบ บูรณาการเกณฑ์ตรวจประเมินฯ เข้ากับ HPH+ และปรับเข้า HA จัดทำคู่มือ/เอกสารวิชาการ สอบทวน รพ. ที่ผ่านเกณฑ์ฯ ระดับ 5 จัดทำแนวทางการดูแลสุขภาพ บุคลากร รพ. จัดทำแนวทางการจัดบริการอาชีวอนามัย ใน รพ. , สนับสนุนการดำเนินงาน อาชีว- อนามัย ใน รพ.

- จัดทำแนวทางเฝ้าระวังผลกระทบต่อ สุขภาพจากสิ่งแวดล้อม (สารหนู , สารอินทรีย์ระเหยง่าย) จัดประชุมวิชาการเฝ้าระวังผลกระทบ ต่อสุขภาพจากสิ่งแวดล้อม - ประเมินองค์ความรู้และพัฒนาศักยภาพ ของบุคลากร สธ. - จัดการข้อมูล , จัดทำสถานการณ์ , Website สิ่งแวดล้อม

จัดทำแนวทางการเฝ้าระวังเชิงรุก จัดทำสถานการณ์ , พัฒนาซอฟท์แวร์ เพื่อการเฝ้าระวังในพื้นที่ จ.ระยอง - ตรวจสุขภาพ และตรวจ Lab พัฒนาเกณฑ์มาตรฐาน/ดัชนีชี้วัด สุขภาพ - พัฒนาการตรวจ Biomarkers พัฒนาศักยภาพแก่ทีม SRRT และบุคลากร สธ. - พัฒนาสื่อสาธารณะและรณรงค์เผยแพร่ - ประเมินผลการดำเนินงาน ปี 2550 - 2552 มาบตาพุด

พัฒนาแนวทางป้องกันควบคุมและ แก้ไขปัญหาโรคซิลิโคสิส (การใช้ หน้ากากกันฝุ่น) , พัฒนา รพ.ต้นแบบ , สนับสนุนการขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยง - พัฒนาแนวทางป้องกันควบคุมและ แก้ไขปัญหาโรคพิษตะกั่ว ศึกษาสถานการณ์การปนเปื้อนแร่ใยหิน ในแป้งฝุ่นโรยตัว พัฒนามาตรฐานดัชนีสุขภาพเพื่อ เฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคพิษสารเคมี ภาค อุตสาหกรรม

จัดทำแผนเตรียมความพร้อม 3 ระยะ จัดทำคู่มือ/มาตรฐานการปฏิบัติงาน ของทีม PHER/SRRT Env.-Occ. จัดตั้งเครือข่าย ซ้อมแผนฯ , สรุปบทเรียน PHER/SRRT จัดทำรายงานสถานการณ์โรคใน พื้นที่เป้าหมาย จัดทำรายงานสถานการณ์ โรค Env.-Occ. พัฒนาแนวทางการสอบสวนโรค สอบสวนโรคภาคสนาม ระบบ เฝ้าระวังฯ

แผนการดำเนินงานอื่นๆ เฝ้าระวังสุขภาพเชิงรุกแก่ประชาชนผู้ได้รับผลกระทบกรณีสารเคมีคลองเตย ให้บริการตรวจสภาพแวดล้อมการทำงาน ตรวจสุขภาพผู้ประกอบอาชีพ และตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ ระดับตติยภูมิ แลกเปลี่ยนบุคลากรศึกษางานด้านสารเคมีกับประเทศจีน นิเทศติดตามการดำเนินงานในพื้นที่ สคร. พัฒนาสื่อสาธารณะและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ พัฒนาแผนกลยุทธ์และประเมินผล PMS , ประเมินและพัฒนาสมรรถนะบุคลากร เสริมสร้างค่านิยมองค์กร , ความผาสุก , KM , PMQA

ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ได้รับอนุมัติโครงการล่าช้า ทำให้ไม่สามารถ เบิกจ่ายงบประมาณได้ 2. การขาดแคลนบุคลากรผู้เชี่ยวชาญ เฉพาะทางฯ ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค 3. การวิเคราะห์สถานการณ์ด้านโรคและ ภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพและ สิ่งแวดล้อมยังไม่ครอบคลุม 4. ความล่าช้าในการประสานการดำเนินงาน ระหว่างหน่วยงานส่วนกลางและหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องในพื้นที่ เมื่อมีเหตุฉุกเฉิน

ขอบพระคุณครับ