เรื่อง ระบบบอกตำแหน่ง (GPS)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ข้อสอบ o-Net คลื่นกล.
Advertisements

รัตนา ธีระวัฒน์ มยุรฉัตร เบี้ยกลาง วราลักษณ์ ตังคณะกุล
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
การสื่อสารข้อมูลบนเครือข่าย
Low-speed UAV Flight Control System
หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
บทที่ 3 การเคลื่อนที่.
คลิก เข้าสู่การเรียนรู้
การขนส่งและการโคจรของดาวเทียม
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก เวลา น. ไปตกยังทิศตะวันตก เวลา 18
สำนักบริหารงานศิลปวัฒนธรรม
ระบบธุรกิจการป้องกันอัคคีภัย...!!!
การนำสายใยแก้วนำแสงมาเชื่อมต่อ หัวเชื่อมต่อที่นิยมใช้มี ดังนี้
ดาวเทียมไทยคม.
SOLAR CHIMNEY (ปล่องลมแสงอาทิตย์)
เทคโนโลยีสารสนเทศ มีเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือหลัก
ดาวเทียม "ธีออส" (THEOS) ดาวเทียมดวงใหม่บนโลกสำรวจ ของประเทศไทยดวงแรก
Wireless Local Loop (WLL)
(Global Positioning System)
WIMAX มาทำความรู้จักกับ wimax กันดีกว่า Wimax คืออะไร หน้าที่ของwimax
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
เครื่องมือเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
เทคโนโลยีไร้สายและดาวเทียม
องค์ประกอบระบบสื่อสารดาวเทียม
การเงิน.
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
แผนที่ นางสาวพัชรินทร์ รุ่งสว่าง ตำแหน่งครูผู้ช่วย
งานวิชาการ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
บุคลากร (Peopleware) บุคลากรทางด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ค่อนข้างมีความจำเป็นที่ต้องมีความรู้หลากหลาย และมีความสนใจเทคโนโลยีสารสนเทศใหม่ๆ เสมอ และคอยติดตามข่าวสารความเป็นไปของเทคโนโลยีทางด้านนี้
การประยุกต์ใช้ GIS ของกทม.
การประดิษฐ์นาฬิกาแดด
ระบบการสื่อสารดาวเทียม
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การปรับปรุงอัตรากรมแพทย์ทหารเรือ
การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ
เรื่อง เครือข่าย คอมพิวเตอร์.  คือการส่งข่าวสารหรือเรื่องราวที่มีความหมายจาก บุคคลฝ่ายหนึ่งที่เรียกว่า ผู้ส่ง ไปยังบุคคลอีกฝ่าย หนึ่งที่เรียกว่า ผู้รับ.
ตัวกลางในการสื่อสารข้อมูล
Geographic Information System
โครงการบริหารจัดการข้อมูลที่ดินระบบภูมิศาสตร์สารสนเทศ(Gis) โดยใช้เครือข่าย internet สำนักงานที่ดินจังหวัดลำปาง สาขาแจ้ห่ม.
การประยุกต์ใช้ภูมิสารสนเทศ กับการบริหารศัตรูพืช
การหาพิกัดภูมิศาสตร์ โครงการส่งเสริมและลดต้นทุนการผลิตข้าว
Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND
ร่างรายงานขั้นสุดท้าย (Draft Final Report)
สรุปเนื้อหาสาระ ภูมิศาสตร์
ข้อดีข้อเสียของสื่อกลางประเภทมีสายและไร้สาย
วัตถุประสงค์ บอกความหมายและส่วนประกอบของการสื่อสารข้อมูลได้อย่าง ถูกต้อง บอกคุณสมบัติพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูลได้ บอกความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และประโยชน์
ระบบรายงานสภาพจราจรโดย เครือข่ายผู้ใช้งาน. สร้างเครือข่ายสำหรับการรายงานสภาพจราจร โดยมุ่งเน้นที่ กลุ่มผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ประเภท smart phone และมีอายุ
กล้องโทรทรรศน์.
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
กลุ่มgirls’generation
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
ข้อดี:ราคาถูก,มีความยืดหยุ่นในการใช้งาน,ติดตั้งง่าย และมีน้ำหนักเบา
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
บทที่ การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
ADDIE Model.
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
เทคโนโลยี สารสนเทศ และการสื่อสาร ช่วยทำให้การ บริการสะดวกขึ้น.
การตรวจอากาศชั้นบนด้วยเครื่องวิทยุหยั่งอากาศ Radiosonde
ฝึกปฏิบัติการ เทคนิค วิธีการใช้สื่อการสอน ในการ สอนฟิสิกส์ผ่านเน็ต ฟิสิกส์ 1.
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
1. ความหมายขององค์กรธุรกิจ องค์กรธุรกิจ หมายถึง กลุ่มคนซึ่งร่วมกันทำกิจกรรมทางธุรกิจเพื่อหวัง ผลตอบแทนเป็นกำไรและการลงทุน 2. ระบบสารสนเทศในเชิงธุรกิจ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง ระบบบอกตำแหน่ง (GPS)

สิ่งนี้คือ ?

ระบบบอกตำแหน่ง (Global Positioning System: GPS) คือระบบบอกตำแหน่งบนพื้นผิวโลก โดยอาศัยการคำนวณจากความถี่สัญญาณนาฬิกาที่ส่งมาจากดาวเทียมที่โคจรอยู่รอบโลกซึ่งทราบตำแหน่ง ทำให้ระบบนี้สามารถบอกตำแหน่ง ณ จุดที่สามารถรับสัญญาณได้ทั่วโลก โดยเครื่องรับสัญญาณจีพีเอส รุ่นใหม่ๆ จะสามารถคำนวณความเร็วและทิศทางนำมาใช้ร่วมกับโปรแกรมแผนที่ เพื่อใช้ในการนำทางได้

ระบบบอกตำแหน่ง ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก คือ 1) ส่วนอวกาศ(Space segment) เป็นส่วนที่อยู่บนอวกาศ ประกอบด้วยดาวเทียม 24 ดวง โดยมี 21 ดวง แบ่งเป็น 6 วงโคจร วงโคจรละ 4 ดวง อยู่สูงจากพื้นดินประมาณ 20,200 กิโลเมตร ทำหน้าที่ส่งสัญญาณคลื่นวิทยุจากอวกาศ

ระบบบอกตำแหน่ง ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก คือ 2) ส่วนสถานีควบคุม(Control segment) ประกอบไปด้วยสถานีภาคพื้นดินที่ควบคุมระบบ ที่กระจายอยู่ตามส่วนต่าง ๆ ของโลก โดยแบ่งออกเป็นสถานีควบคุมหลัก ตั้งอยู่ที่ฐานทัพอากาศในเมืองโคโลราโดปสริงส์ (Colorado Springs) มลรัฐโคโรลาโดของสหรัฐอเมริกาสถานีติดตามดาวเทียม 5 แห่ง ทำการรังวัดติดตามดาวเทียมตลอดเวลา สถานีรับส่งสัญญาณ 3 แห่ง

ระบบบอกตำแหน่ง ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก คือ 3) ส่วนผู้ใช้ (User segment) ประกอบด้วยเครื่องรับสัญญาณ หรือเครื่องรับจีพีเอส GPS ซึ่งมีหลายขนาด สามารถพกพาติดตัวหรือ จะติดไว้ในรถ เรือ เครื่องบินก็ได้

แบบทดสอบ ถาม – ตอบ เรื่อง ระบบบอกตำแหน่ง (GPS) 1. ชายคนนี้ไปสถานที่แห่งหนึ่งโดยการใช้ ……………………………………………………………………………………………………………. 2. ตัวลูกศรสามเหลี่ยมเปรียบเหมือนอะไร ……………………………………………………………………………………………………………. 3. ในแผ่นที่มีการข้ามแม่น้ำและในภาพจริงมีการข้ามแม่น้ำใช่หรือไม่ ……………………………………………………………………………………………………………. 4. การทำงานของจีพีเอสเนวิเกเตอร์ทำงานยังไง ……………………………………………………………………………………………………………. 5. ดาวเทียมจะปล่อยสัญญาณเป็นคลื่นอะไร ……………………………………………………………………………………………………………. 6. ถ้ามีดาวเทียมมากขึ้นจะมีความแม่นยำมากขึ้นหรือน้อยลง …………………………………………………………………………………………………………….

ประโยชน์และการประยุกต์ใช้ระบบบอกตำแหน่ง • ช่วยนำทางจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได้ตามต้องการ • ช่วยในการติดตามการเคลื่อนที่ของยานพาหนะ คน สัตว์ และสิ่งของ • ช่วยในการปรับปรุงแก้ไขความถูกต้องเชิงตำแหน่งของข้อมูลจากดาวเทียม • ช่วยในการสำรวจรังวัด ทำแผนที่ และจัดสร้างฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ • ช่วยในการควบคุมเครื่องจักรกลในภาคเกษตรกรรม • ช่วยในการบริหารจัดการคมนาคมขนส่ง • ช่วยสนับสนุนการให้บริการข้อมูลข่าวสารเชิงตำแหน่ง

จบการนำเสนอค่ะ ผู้สอน นางสาวจิราพร ศึกษา