สรุปบทความเรื่อง แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วย Competency

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Advertisements

การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
ทรัพยากรมนุษย์และชุมชน (Perspectives of HCRD)
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
พัฒนาบุคลากร (Human Resources Development)
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การกำหนดสมรรถนะ (COMPETENY)
จัดตั้งงานประสานศูนย์วิทยพัฒนา 25 สิงหาคม 2550
องค์การสมัยใหม่ (Modern organization) หมายถึง การที่มีกลุ่มคนมาทํางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งองค์สมัยใหม่การมีลักษณะร่วมกันอยู่
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การสรรหาและเลือกสรรบุคคลเข้ารับราชการ
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
Competency Phatthalung Provincial Center for Skill Development.
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict and Negotiation)
ก้าวไกลสู่มาตรฐานวิชาชีพ
หัวข้อวิชา การเพิ่มศักยภาพในการเป็นผู้นำ และการนำเสนอข้อมูล
การพัฒนาทรัพยากรบุคคล แนวทางการพัฒนาพนักงาน
โดย ผู้อำนวยการสำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แผนแม่บทการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
ขั้นตอนการดำเนินงาน 1. HR แจกแบบสอบถาม เรื่อง แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคลในปี 54 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์ พร้อมทั้งแนบรายละเอียดคน.
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
ปัญหา ช่องว่างค่าตอบแทน เมื่อเทียบกับสาธารณสุข กทม. เอกชน
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
การประชาสัมพันธ์เบื้องต้น
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
การบริหารสู่ความเป็นเลิศ
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
Participation : Road to Success
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาสมรรถนะด้านเทคนิค (Competency Development for Best Practices) กรมควบคุมโรค ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค บริษัท โกลบัล.
CORE COMPETENCY WORK POINT
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สมรรถนะการทำงาน ดร. จักรพงศ์ สุวรรณรัศมี.
การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 1 ผู้ส่งสาร
Paradigm Workshop by Dr. Prapon Phasukyud
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
บรรยาย โดย อาจารย์วทัญญู มุ่งหมาย
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
สัมมนาการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนสำหรับท้องถิ่น
แนวทางการพัฒนาเพื่อธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HAการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557.
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
แนวทาง KM ทร. ปี 53 ที่เชื่อมโยงและถ่ายทอดสู่ รร.นร.
แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
วิพากษ์วิจารณ์ข้อดีของทฤษฎี
โดย ดวงวรพร สิทธิเวทย์ ภารกิจ นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัย (Office of Research Policy and Strategy)
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปบทความเรื่อง แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วย Competency

แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วย Competency

แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วย Competency บทความฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ที่อยู่ในวงการทรัพยากรมนุษย์ และผู้ที่สนใจ ได้เข้าใจในแนวคิดและหลักการของนักคิด นักวิชาการเกี่ยวกับ Competency ซึ่งผู้เขียนจะพยามยามเขียนให้ผู้อ่านเข้าใจได้ง่าย รวบรัด กระชับ ครบถ้วนในเนื้อหาที่เหมาะสมกับผู้ที่ไม่มีเวลาโดยเฉพาะทุกคนที่ปฏิบัติงาน อยู่ในองค์การ แม้ว่าบทความฉบับนี้จะไม่ได้เป็นผลงานทางวิชาการที่ดีที่สุดหรือแนวปฏิบัติที่ดีที่สุด ที่จะสามารถนำไปใช้อ้างอิงได้แต่คงพอทำให้ทุกท่านที่สนใจได้รู้จักและเข้าใจความหมาย แนวคิด หลักการ เกี่ยวกับ Competency

แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วย Competency Competency คือ บุคลิกลักษณะที่ซ่อนอยู่ภายใต้ปัจเจกบุคคล ซึ่งสามารถผลักดันให้ปัจเจกบุคคลนั้น สร้างผลการปฏิบัติงานที่ดีหรือตามเกณฑ์ที่กำหนด ในงานที่ตนรับผิดชอบ ความสามารถตามกรอบแนวคิดเรื่องขีดความสามารถ ซึ่งสามารถอธิบายได้ตามแผนภาพโมเดลภูเขาน้ำแข็ง แสดงเกี่ยวกับ แนวคิด หลักการของ Competency

แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วย Competency

แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วย Competency ความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skills) คุณลักษณะส่วนบุคคล (Personal Characteristic of Attributes) พฤติกรรม (Behavior)

ประเภทของ Competency ขีดความสามารถหลัก (Core Competency) ขีดความสามารถด้านการบริหาร (Managerial Competency) ขีดความสามารถตามตำแหน่งงาน (Functional Competency )

ประเภทของ Competency ขีดความสามารถหลัก (Core Competency) หมายถึง บุคลิกลักษณะหรือการแสดงออกของพฤติกรรมของพนักงานทุกคนในองค์การ ที่สะท้อนให้เห็นถึงความรู้ ทักษะ ทัศนคติ ความเชื่อ และอุปนิสัยของคนในองค์การโดยรวม

ประเภทของ Competency ขีดความสามารถหลัก (Core Competency) ขีดความสามารถชนิดนี้จะถูกกำหนดจากวิสัยทัศน์ พันธกิจเป้าหมายหลัก หรือกลยุทธ์ขององค์การ 1.ความใฝ่รู้และการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 2. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 3. ความมุ่งมั่นในการให้บริการ 4. การมีจิตสำนึกต่อความคุ้มทุน

ประเภทของ Competency ขีดความสามารถหลัก (Core Competency) ขีดความสามารถชนิดนี้จะถูกกำหนดจากวิสัยทัศน์ พันธกิจเป้าหมายหลัก หรือกลยุทธ์ขององค์การ 5. ความเป็นเลิศในการให้บริการ 6. การทำงานเป็นทีม 7. การติดต่อสื่อสารและมนุษย์สัมพันธ์

ประเภทของ Competency 2. ขีดความสามารถด้านการบริหาร (Managerial Competency) คือ ความรู้ ความสามารถด้านการบริหารจัดการ เป็นขีดความสามารถที่มีได้ทั้งในระดับผู้บริหารและระดับพนักงานโดยจะแตกต่างกันตามบทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบ (Role – Based) แตกต่างตามตำแหน่งทางการบริหาร งานที่รับผิดชอบ ซึ่งบุคลากรในองค์กรทุกคนจำเป็นต้องมีในการทำงานเพื่อให้งานสำเร็จ และต้องสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ วิสัยทัศน์ พันธกิจขององค์การ

ประเภทของ Competency 3. ขีดความสามารถตามตำแหน่งงาน (Functional Competency ) คือ ความรู้ ความ สามารถในงานซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะเฉพาะของงานต่าง ๆ (Job – Based) เช่น นักบัญชี ควรต้องมีความรู้ทางด้านการบัญชี เป็นต้น ซึ่งอาจเรียกขีดความสามารถชนิดนี้ สามารถเรียก Functional Competency หรือเป็น Job Competency เป็น Technical Competency ก็ได้

การเริ่มนำ Competency มาใช้ในหน่วยงาน Competency จัดได้ว่าเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งที่ใช้ในการพัฒนาองค์การ การสร้างความมีส่วนร่วมของพนักงาน โดยการให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ Competency เป็นเรื่องสำคัญและจะทำให้พนักงานเกิดความรู้สึกว่ามีส่วนร่วม จะสามารถสร้างการยอมรับและลดการต่อต้านการนำ Competency เข้ามาใช้ในหน่วยงานของท่านได้

ประเภทของ Competency ขั้นตอนการนำเอา Competency มาใช้ จัดการฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับแนวคิด หลักการของ Competency การทำ Workshop ร่วมกันแบ่งกลุ่มระดมสมอง รวมทั้ง ประกาศ ชี้แจงทำความเข้าใจในวิสัยทัศน์ พันธกิจ ของฝ่ายฝึกอบรม และเป้าหมายที่จะมุ่งไปข้างหน้า

ขั้นตอนการนำเอา Competency มาใช้ การพิจารณากำหนด Core Competency ของพนักงานฝ่าย ฝึกอบรม ซึ่งได้มาทั้งหมด 6 ตัวคือ ใจรักบริการ (Service Mind) ทีมงานสัมพันธ์ (Team Relations) เปลี่ยนแปลงสร้างสรรค์ (Creativity of Change มุ่งมั่นผลงาน (Achivement Oriented) เชี่ยวชาญรอบรู้ (Expertise) สู่ความคุ้มทุน (Cost Consciousness)

ประเภทของ Competency ขั้นตอนการนำเอา Competency มาใช้ 2. ฝ่ายบริหารงานบุคคล ได้ร่วมกันให้นิยามความหมายของ ขีดความสามารถหลักของฝ่ายฝึกอบรมว่ามีความหมายอย่างไร รวมทั้งกำหนดระดับความยากง่ายของการแสดงออกในความรู้ ทักษะ พฤติกรรม

ประเภทของ Competency ขั้นตอนการนำเอา Competency มาใช้ 3. ฝ่ายบริหารงานบุคคล ได้ประเมินศักยภาพพนักงานทุกคนเพื่อพิจารณาหาช่องว่าง (Gap) ของแต่ละคนเพื่อวางแผนและกำหนดแนวทางในการพัฒนา โดยใช้วิธีการจัดฝึกอบรมภายในหน่วยงาน (In-plant Training) และการส่งพนักงานไปอบรมภายนอกเป็นช่องทางในการพัฒนา ซึ่งแผนพัฒนาที่จัดทำขึ้นจะสอดคล้องกับขีดความสามารถหลักที่จัดทำและเป็นการพัฒนาที่สามารถเสริมความรู้ ความเข้าใจและทักษะของพนักงาน