บทที่ 6 การใช้งานฟอร์มและเมนู สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษร ใช้ประโยชน์เพื่อการศึกษาเท่านั้น.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 3 การออกแบบระบบเนวิเกชัน
Advertisements

ปฏิบัติการที่ 4 การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ
การใช้ Microsoft Word 2007 / 2010 เพื่อการจัดการงานเอกสารเชิงวิชาการ
ส่วนประกอบของหน้าต่าง
การ Import/Export Favorite ของ KETrade
สำรวจข้อมูลโรงงาน เพื่อปรับปรุงฐานข้อมูลโรงงาน
วิธีการสร้างสารบัญอัตโนมัติ
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ความหมายของซอฟท์แวร์ (Software, Program)
Visual Basic.
Visual Basic 6 By Samaporn Yendee VB6.
Visual Basic 6 By Samaporn Yendee VB6.
การวาดและการทำงานกับวัตถุ
Properties ของคอนโทรล ที่ควรรู้จักในเบื้องต้น
Microsoft Word Part I Government Savings Bank Computer Trainging Í
การใช้งาน Microsoft PowerPoint
By Mr.Piched Tanawattana ส่วนประกอบของ Excel แถบชื่อเรื่อง Title bar ปุ่มควบคุม Control Button เวิร์กชีต Worksheet แถบสถานะ Status bar แถบเมนู Menu.
การทำงานกับ Taskbar การย้าย การตั้งวันที่ และเวลา.
จดหมายเวียน (Mail Merge)
ตัวอย่างขั้นตอนในการสืบค้นข้อมูล
การใช้งาน Microsoft Excel
The Multiple Document Interface (MDI) การประสานเอกสารหลายรูปแบบ
Visual Basic บทที่ 1.
การพัฒนาเว็บด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
การพิมพ์รายงาน / วิทยานิพนธ์
โปรแกรม Microsoft Access
OSI MODEL.
ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
สาชาวิชาการวัด ประเมิน และวิจัยทางการศึกษา
การใช้งาน Microsoft Windows XP
Microsoft Visual Studio .NET 2003
Information Technology Project Management
Chapter 4 การสร้าง Application
รายงาน เรื่อง -ส่วนประกอบที่สำคัญของ microsoft excel -การพิมพ์ข้อมูลและการสร้างสูตรเบื้องต้น จัดทำโดย.
Microsoft Excel เป็นโปรแกรมประเภท สเปรดชีต (spreadsheet) หรือตารางคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้เก็บบันทึกข้อมูลในลักษณะต่างๆ ซึ่งส่วนใหญ่มักเก็บข้อมูลประเภทการคำนวณ.
บทที่ 9 การใช้งานเมนู ไดอะล็อก และทูลบาร์
การเพิ่มสไลด์แบบกราฟ Chart
CHAPTER 6 Macromedia Dreamweaver MX 8.
การรักษาความปลอดภัยของเอกสาร
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฟอร์ม (Form)
การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
เริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Microsoft Access
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Power Point
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
โปรแกรม Microsoft Access
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
บทที่ 4 นิพจน์ทางคณิตศาสตร์.
ระบบปฏิบัติการ ( Operating System : OS )
การเข้าใช้ Speexx ครั้งแรก Foundation English II
บทที่ 3 การสร้าง Appication แบบ Windows Form
Symbol & Instance.
การเพิ่มประสิทธิภาพ คอมพิวเตอร์. วัตถุประสงค์วัตถุประสงค์ 1. สามารถบูทเข้า windows หรือ shut down ได้เร็วขึ้น 2. คอมฯมีพื้นที่ว่างในการทำงาน มากขึ้น 3.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ Microsoft Visual C#
Easy way to Estimate Training Project
การสร้างและการใช้งานฟอร์ม
การออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้ User Interface Design
บทที่ 9 การใช้งานฟอร์มและคอนโทรลต่าง ๆ
นางสาวขวัญชนก ขจรภพ รหัสนิสิต กลุ่ม B06 คณะพยาบาลศาสตร์
บทที่ 5 เทคนิคการสร้างแอพพลิเคชัน
รู้จักกับ Microsoft Access 2003
14/01/581 ผู้พัฒนา อะโดบีซิสเต็มส์ ( เริ่ม พัฒนาโดย แมโครมีเดีย ) รุ่นเสถียร ล่าสุด CS3 (9.0) รุ่นทดลอง ล่าสุด (27 มีนาคม พ. ศ. 2550) โอเอส Windows Mac.
เริ่มต้น Photoshop CS5.
บทที่ 2 ฟังก์ชันใน Visual Basic 6.0
บทที่ 2 การเข้าสู่โปรแกรม Microsoft Office Word 2003
การพิมพ์ตารางออกทางเครื่องพิมพ์
การสร้างความเชื่อมโยง (Link)
เริ่มใช้งาน Microsoft Office
การสร้างข้อความลงแผ่นสไลด์
การสร้างเมนูเข้าสู่บทความ. เป็นการสร้างเมนูเพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่บทความที่ สร้างไว้ภายในเว็บไซต์ ซึ่งสามารถสร้างเมนูได้ ดังนี้ – การสร้างเมนูเข้าสู่บทความที่ถูกพักการใช้งาน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 6 การใช้งานฟอร์มและเมนู สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษร ใช้ประโยชน์เพื่อการศึกษาเท่านั้น

การใช้งานเมนูกับแอพพลิเคชัน รูปแบบหนึ่งที่ช่วยให้การใช้งานแอพพลิเค ชันดูง่าย, ประหยัดเนื้อที่แสดงผลและน่าใช้ งาน คือการใช้เมนู ซึ่งเราสามารถเพิ่มเมนู ให้แอพพลิเคชัน ตัวอย่างเช่น Windows Explorer หรือใน Visual Basic รูปแบบหนึ่งที่ช่วยให้การใช้งานแอพพลิเค ชันดูง่าย, ประหยัดเนื้อที่แสดงผลและน่าใช้ งาน คือการใช้เมนู ซึ่งเราสามารถเพิ่มเมนู ให้แอพพลิเคชัน ตัวอย่างเช่น Windows Explorer หรือใน Visual Basic สำหรับเมนูที่เรานำมาใช้งานนั้นสามารถ แบ่งได้เป็น 2 แบบ คือ สำหรับเมนูที่เรานำมาใช้งานนั้นสามารถ แบ่งได้เป็น 2 แบบ คือ Pull Down Menu พูลดาวน์เมนู เป็น เมนูที่มีตำแหน่งแน่นอน ซึ่งปกติเรามักจะ เห็นพูลดาวน์เมนูในตอนบนของแอพพลิเค ชัน Pull Down Menu พูลดาวน์เมนู เป็น เมนูที่มีตำแหน่งแน่นอน ซึ่งปกติเรามักจะ เห็นพูลดาวน์เมนูในตอนบนของแอพพลิเค ชัน PopUpMenu ป็อบอัพเมนู เป็นเมนูที่มี ตำแหน่งแน่นอน ปกติมักจะเกิดตอนที่เรา คลิกขวาในพื้นที่ของแอพพลิเคชัน PopUpMenu ป็อบอัพเมนู เป็นเมนูที่มี ตำแหน่งแน่นอน ปกติมักจะเกิดตอนที่เรา คลิกขวาในพื้นที่ของแอพพลิเคชัน

ตัวอย่าง Pull Down และ PopUpMenu ตัวอย่าง Pull Down และ PopUpMenu Pull Down PopUp Menu

องค์ประกอบต่าง ๆ ของเมนู Menu Title Menu Bar Menu Item Shortcut key Pull Down Menu

เรียกใช้งาน Menu Editor ในการจะเพิ่มเมนูแบบ Pull Down ให้กับ แอพพลิเคชันนั้น เราสามารถทำงานผ่าน เครื่องมีที่เรียกว่า เมนูอีดิเตอร์ (Menu Editor) ซึ่งนอกจากจะใช้เพิ่มเติมเมนูแล้ว ยังสามารถนำเมนูที่เคยสร้างไว้มาแก้ไข ได้ ซึ่งมีวิธีการใช้งานดังนี้ ในการจะเพิ่มเมนูแบบ Pull Down ให้กับ แอพพลิเคชันนั้น เราสามารถทำงานผ่าน เครื่องมีที่เรียกว่า เมนูอีดิเตอร์ (Menu Editor) ซึ่งนอกจากจะใช้เพิ่มเติมเมนูแล้ว ยังสามารถนำเมนูที่เคยสร้างไว้มาแก้ไข ได้ ซึ่งมีวิธีการใช้งานดังนี้  เรียกใช้งาน Visual Basic  จากไดอะล็อก New Project เลือกสร้าง ชนิดโปรเจกต์เป็น Standard EXE  คลิกขวาบนฟอร์มดีไซเนอร์จะปรากฎป็อป อัพเมนู ให้เลือก Menu Editor…( หรือกด CTRL+E) เพื่อเรียกเมนูอีดิเตอร์มาใช้งาน  ในเมนูอีดิเตอร์นั้นเราสามารถใส่ รายละเอียดต่างๆ ให้กับแต่ละเมนูไอเท็ม ในเมนูอีดิเตอร์ได้ดังปรากฏในตารางที่ 6- 1

สร้างป็อบอัพเมนูจากเมนูแบบ Pull Down สำหรับการสร้างป็อบอัพเมนูจาก Pull Down ที่มีอยู่เดิมในแอพพลิเคชันนั้น มี ขั้นตอนดังนี้ สำหรับการสร้างป็อบอัพเมนูจาก Pull Down ที่มีอยู่เดิมในแอพพลิเคชันนั้น มี ขั้นตอนดังนี้  เลือกเมนูจากเมนูอีดิเตอร์ ซึ่งจะทำหน้าที่ เป็นป็อบอัพเมนู ตัวอย่างเช่น เราเลือกเมนู “ พร็อพเพอร์ตี้ ” ให้เป็นป็อบอัพเมนู เพราะฉะนั้นเมนูไอเท็มต่าง ๆ ภายใน “ พร็อพเพอร์ตี้ ” ก็จะแสดงให้เห็นเมื่อป็อบ อัพเมนูแสดงขึ้นมา  เลือกเมนู “ พร็อพเพอร์ตี้ ” เป็นป็อบอัพเมนู

 เราจะเรียกใช้งานป็อบอัพเมนูจากอีเวนต์ Mouse Down ของฟอร์ม โดยตรวจสอบ ว่ามีการคลิกเมาส์ปุ่มขวามือ (vbRightButton) หรือไม่ ถ้าใช่ก็ให้ใช้ Method PopUp Menu ของฟอร์ม เรียกใช้เมนู “ พร็อพเพอร์ตี้ ” ให้กลายเป็น ป็อบอัพเมนู  ทดสอบการทำงาน โดยเรียกป็อบอัพเมนู ขึ้นมาเมื่อคลิกขวาในพื้นที่ของฟอร์ม ได้ผลดังนี้ คลิกขวาเพื่อเรียกใช้ป็อปอัพเมนู คลิกขวาเพื่อเรียกใช้ป็อปอัพเมนู

การสร้างเมนูป็อปอัพต่างหาก เมื่อเราต้องการได้ป็อปอัพเมนูพิเศษ ต่างหาก โดยไม่เอารายการจากเมนูแบบ Pull Down หรือแอพพลิเคชันของเราไม่มี เมนูแบบ Pull Down มาใช้งาน ก็สามารถ สร้างป็อบอัพเมนูได้ดังนี้ เมื่อเราต้องการได้ป็อปอัพเมนูพิเศษ ต่างหาก โดยไม่เอารายการจากเมนูแบบ Pull Down หรือแอพพลิเคชันของเราไม่มี เมนูแบบ Pull Down มาใช้งาน ก็สามารถ สร้างป็อบอัพเมนูได้ดังนี้  สร้างฟอร์มหลักของแอพพลิเคชัน ซึ่งมี Pull Down เมนูดังนี้ หน้าตาของฟอร์มหลักพร้อมเมนูไอเท็ม หน้าตาของฟอร์มหลักพร้อมเมนูไอเท็ม

 สร้างฟอร์มใหม่สำหรับเก็บเมนูไอเท็ม ของป็อบอัพเมนูในฟอร์มนั้น โดยคลิกเมนู Project>Add Form 1. คลิก 2. คลิก 3. คลิก

 ใช้เมนูอีดิเตอร์สร้างเมนูขึ้นมา โดยเรา เลือกเอาเมนูไอเท็มบางส่วนจากฟอร์มหลัก มาใช้  ขณะที่ทำงานก็ให้ซ่อนฟอร์มนั้นไว้ตลอด และเรากำหนดฟอร์มหลักที่จะใช้ทำงาน เป็นฟร์อมที่ถูกโหลดเป็นอันดับแรกโดย คลิกเมนู Project>Project1 Properties… ซึ่งในไดอะล็อก Properties… นั้นให้กำหนดฟอร์มที่จะถูก โหลดจากช่อง Startup Object

 เมื่อผู้ใช้งานคลิกขวาในฟอร์มหลักที่ ทำงาน ก็จะโหลดเมนูจากฟอร์มที่ซ่อนอยู่ ขึ้นมาใช้งาน ซึ่งเราจะเขียนโค้ดจากอี เวนต์ MouseDown ของฟอร์มหลัก  ทดสอบการทำงาน โดยเรียกป็อปอัพเมนู โดยการคลิกขวาในพื้นที่ของฟอร์ม และ ตรวจสอบดูผลลัพธ์ เลือก กำหนดให้ เป็นฟอร์ม หลัก