ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบบริการสุขภาพเพื่อให้ทุกคนใน จังหวัดชลบุรีมีหลักประกันสุขภาพ สามารถ เข้าถึงบริการสุขภาพ ที่มีคุณภาพ มาตรฐานสากล.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิ
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
กลุ่มตัวชี้วัด : ๑) จำนวนการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการ ลดลงร้อยละ ๕๐
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ตัวชี้วัดที่ 2.4 ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุม-ภายใน ประจำปีงบประมาณ 2557.
ร้อยละความสำเร็จของการนำองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์การไปสู่การปฏิบัติ
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
เพื่อเพิ่มคุณภาพและความครอบคลุม
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
สรุปการประชุม เขต 10.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
“โครงการสร้างสุขระดับจังหวัด….” จากแผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต(สสส.)
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล และระบบสารสนเทศ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
แนวทางการพัฒนาคลินิก DPAC
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การวางแผนยุทธศาสตร์.
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
การพัฒนา คป.สอ/รพ.สต.ติดดาว
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
ทันตสาธารณสุข นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Functionปี 54
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ระดับกระทรวง / กลุ่มภารกิจ / กรม
เก็บตกคำถามจาก สมศ..
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
ศึกษาผลการประเมินการ ดำเนินงานระบบเรียนรู้ ของ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2552 – 2554 นางอรัญญา เอี่ยมภักดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การเพิ่มขีด ความสามารถการเตรียมความพร้อมในการ จัดการสาธารณภัย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้าง สมรรถนะองค์กรให้มีประสิทธิภาพสูง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบบริการสุขภาพเพื่อให้ทุกคนใน จังหวัดชลบุรีมีหลักประกันสุขภาพ สามารถ เข้าถึงบริการสุขภาพ ที่มีคุณภาพ มาตรฐานสากล

ทบทวนความสำเร็จนโยบายปี 54และกำหนดนโยบายตังชี้วัดสำคัญ ปี 55 นโยบายปี 54 ตัวชี้วัดผลสำเร็จ พัฒนาระบบส่งต่อและรับกลับ อย่างเป็นรูปธรรม A4 ระดับความสำเร็จในการ พัฒนาระบบส่งต่อและรับกลับ อย่างเป็นรูปธรรม มีการพัฒนาระบบส่งต่อและ รับกลับอย่างเป็นรูปธรรมมากขึ้น แต่ยังต้องมีการพัฒนาความ ร่วมมือและสร้างภาคีเครือข่าย ร่วมกัน กองทุนหลักประกันสุขภาพ ชุมชน ( กองทุนตำบล ) มีการ ดำเนินงานที่สอดคล้องกับปัญหา สุขภาพของพื้นที่ A5 ระดับความสำเร็จของ การบรรลุผลสัมฤทธิ์ของ กองทุนหลักประกันสุขภาพ ชุมชนที่สอดคล้องกับปัญหา สุขภาพของพื้นที่ ท้องถิ่นต่างๆ ได้เข้าร่วมจัดตั้ง กองทุนตำบลครอบคลุม ท้องถิ่น ทั้งหมด 98 แห่ง สมัครกองทุน 94 คิดเป็นร้อยละ หน่วยงานควรส่งแผนให้ทัน การพิจารณาของกองทุนแต่ละ แห่ง หน่วยบริการมีการตรวจสอบ ชดเชย (Coding Audit) F16 ร้อยละความสำเร็จของ การตรวจสอบชดเชย (Coding Audit) หน่วยบริการสามารถ ตรวจสอบชดเชยได้ แต่ต้อง พัฒนาทีม Internal Audit และ เพิ่มการวิเคราะห์เชิงลึก (CMI) ต่อไป

ทบทวนความสำเร็จนโยบายปี 54 และกำหนดนโยบายตังชี้วัด สำคัญ ปี 55 ประกันสุขภาพ ยุทธศาสตร์Road Mapนโยบายตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ ที่ 3 พัฒนาระบบ บริการสุขภาพ เพื่อให้ทุกคนใน จังหวัดชลบุรีมี หลักประกัน สุขภาพ สามารถ เข้าถึงปริการ สุขภาพ ที่มี คุณภาพ มาตรฐานสากล 1. พัฒนาระบบ บริการของหน่วย บริการให้ได้ มาตรฐานสากล พัฒนาคุณภาพ ระบบบริการ เพื่อให้ประชาชน ได้รับบริการที่มี คุณภาพตาม มาตรฐาน อย่าง ทั่วถึงและเป็น ธรรม 1. หน่วยบริการ ตามระบบ หลักประกันสุขภาพ ทุกแห่ง มีการพัฒนา ความร่วมมือและ สร้างภาคีเครือข่าย ร่วมกันเพื่อพัฒนา ระบบส่งต่อ (Function)

นำเสนอTemplate Function

ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบบริการสุขภาพเพื่อให้ทุกคนในจังหวัดชลบุรีมีหลักประกัน สุขภาพ สามารถเข้าถึงบริการสุขภาพ ที่มีคุณภาพมาตรฐานสากล ชื่อตัวชี้วัด F5 หน่วยบริการตามระบบหลักประกันสุขภาพทุกแห่งมี การพัฒนาความร่วมมือและสร้างภาคีเครือข่ายร่วมกันเพื่อพัฒนา ระบบส่งต่อ คำอธิบายตัวชี้วัด : นิยาม –หน่วยบริการตามระบบหลักประกันสุขภาพทุกแห่ง หมายถึง หน่วยบริการและเครือข่ายที่ขึ้น ทะเบียนตามระบบหลักประกันสุขภาพ ปี 2555 กลยุทธ์สู่ความสำเร็จ 1. ผู้บริหารให้ความสำคัญ และจัดตั้งคณะทำงาน อย่างชัดเจน 2. มีแนวทางการพัฒนาระบบส่งต่ออย่างต่อเนื่อง เกณฑ์ชี้วัดเชิงคุณภาพ ระดับเกณฑ์การให้คะแนนคะแนน 1 มีแผนงานหรือโครงการเพื่อสนับสนุนการพัฒนาเชื่อมโยงเครือข่าย 20 2 มีคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาระบบส่งต่อและรับกลับ และมีการจัดประชุมอย่าง ต่อเนื่อง 20 3 มีรายงานสรุปผลการดำเนินงานภายในเครือข่ายและระหว่างเครือข่าย - สรุปการประชุมและมีแนวทางในการดำเนินงานและพัฒนาอย่างต่อเนื่องมีผลการ ดำเนินงานสามารถลดข้อร้องเรียนที่เกี่ยวข้องกับระบบส่งต่อ - สรุปผลการดำเนินงานลดข้อร้องเรียน 15 4 มีการปรับปรุงพัฒนา และมีแนวทางในการดำเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม - มีคู่มือแนวทางการดำเนินงานและระบบการส่งต่อและรับกลับ อย่างชัดเจน มีทะเบียนส่งต่อและทะเบียนรับคนไข้กลับ 15

ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบบริการสุขภาพเพื่อให้ทุกคนในจังหวัดชลบุรีมีหลักประกัน สุขภาพ สามารถเข้าถึงบริการสุขภาพ ที่มีคุณภาพมาตรฐานสากล ชื่อตัวชี้วัด F5 หน่วยบริการตามระบบหลักประกันสุขภาพทุกแห่งมีการ พัฒนาความร่วมมือและสร้างภาคีเครือข่ายร่วมกันเพื่อพัฒนาระบบ ส่งต่อ คำอธิบายตัวชี้วัด : นิยาม – ไม่ถูกปฏิเสธการส่งต่อและรับกลับ ( จำนวนราย ) X 100 การส่งต่อและรับกลับทั้งหมด ( จำนวนราย ) กลยุทธ์สู่ความสำเร็จ 1. ผู้บริหารให้ความสำคัญ และจัดตั้งคณะทำงาน อย่างชัดเจน 2. มีแนวทางการพัฒนาระบบส่งต่ออย่างต่อเนื่อง เกณฑ์ชี้วัดเชิงปริมาณ ระดับเกณฑ์การให้คะแนนคะแนน และไม่มีเรื่องร้องเรียน 5 ผ่านระดับ 4 และมี Best Practice