จุดมุ่งหมายของพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา คือศาสนาแห่งผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน เกิดจากการตรัสรู้ความจริง 4 ประการของเจ้าชายสิทธัตถะ
บริบทที่ทำให้มีการตรัสรู้ หลักกรรม การเวียนว่ายตายเกิด
เป้าหมายแห่งชีวิตคือ ความสุข
ความสุข 3 ระดับ กามสุข (หรือโลกิยสุข) ความสุขของชาวโลก การประสบผลสำเร็จในชีวิตในวัยทั้ง 3 2. ฌานสุข ความสุขอันเกิดจากฌาน- สมาธิ 3. นิพพานสุข ความสุขอันเกิดจากการเข้าถึงพระนิพพาน
วิถีแห่งการเข้าถึงความสุขแบบชาวโลก ยามน้อยสำเหนียกรู้ เรียนคุณ ยามใหญ่แสวงหาทุน ทรัพย์ไว้ ยามแก่แสวงบุญ ธรรมชอบ ยามหง่อมทำใดได้ แต่ล้วน อนิจจัง
วิถีแห่งการเข้าถึงฌานสุข คือ การทำสมาธิให้จิตจดจ่ออยู่ในสิ่งหนึ่ง จนเกิดภาวะแห่งอารมณ์หนึ่งเดียว
วิถีแห่งการเข้าถึงนิพพานสุข คือ การปฏิบัติตามทางสายกลาง หลีกเลี่ยงจากการทำตามใจตน (กามสุขัลลิกานุโยค) หลีกเลี่ยงจากการทรมานตน (อัตตกิลมถานุโยค)
เข้าสู่ทางสายกลาง ศีล สัมมาวาจา พูดชอบ สัมมากัมมันตะ กระทำชอบ (เว้นจากการฆ่า เว้นจากการลักทรัพย์ เว้นจากการประพฤติผิดในกาม) สัมมาอาชีวะ เลี้ยงชีวิตชอบ
สมาธิ สัมมาวายามะ พยายามชอบ สัมมาสติ ระลึกชอบ สัมมาสมาธิ สมาธิชอบ
ปัญญา สัมมาทิฏฐิ เห็นชอบ สัมมาสังกัปปะ ดำริชอบ
ภาวะแห่งการบรรลุนิพพานคือ การดับไปแห่ง (อัตตา) โลภ โกรธ หลง เหลือแต่ โลภ โกรธ หลง เหลือแต่ สุทธิ เมตตา ปัญญา สะอาด สว่าง สงบ
ตรีกายแห่งพระพุทธเจ้า จากเถรวาท สู่มหายาน ตรีกายแห่งพระพุทธเจ้า ธรรมกาย สัมโภคกาย นิรมาณกาย
มหายาน พาหนะอันยิ่งใหญ่ เราจักเรียนธรรมให้เจนจบ เราจักพากเพียรให้บรรลุธรรม เราจักช่วยเหลือสัตว์ผู้ทุกข์ยากให้หมดสิ้น (จะยอมเข้าถึงพระนิรวาณเป็นคนสุดท้าย)
คุณสมบัติพื้นฐานสำหรับพระโพธิสัตว์ ความเข้าใจเรื่องศูนยตา ความเข้าใจเรื่องพุทธภาวะ ความเป็นผู้ฉลาดในการจัดการ (อุปายเกาศัลยะ)
บารมีของพระโพธิสัตว์ ทาน ศีล ทาน ศีล วิริยะ กษานติ ธยาน ปรัชญา
พระโพธิสัตว์ คือ “ผู้รักในพระนิรวาณ แต่หันหลังให้พระนิรวาณ ผู้เกลียดสังสารวัฏ แต่หันหน้าเข้าหาสังสารวัฏ”
“คนเราเกิดมาเพื่อทำตัวเองให้สิ้นทุกข์ เราเกิดมาทำไม ? “คนเราเกิดมาเพื่อทำตัวเองให้สิ้นทุกข์ และช่วยเหลือผู้อื่นให้สิ้นทุกข์”