สุขภาพและความปลอดภัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
BASIC OCCUPATIONAL HEALTH & SAFETY
Advertisements

บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
Introduction to Safety Engineering
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
กองทุนประกันสังคมคือ...
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
โดย วชิรวิชญ์ มธุรสสุวรรณ
ระบบการจัดการอุบัติเหตุในโรงพยาบาล โดย วชิรวิชญ์ มธุรสสุวรรณ
สภาพปัจจุบันและปัญหาสาธารณสุขของประเทศและท้องถิ่น
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
สุขภาพจิต และการปรับตัว
การบำรุงรักษาทรัพยากรมนุษย์
อุบัติเหตุและวิธีป้องกัน
ขวัญในงานธุรกิจอุตสาหกรรม
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
แรงงานนอกระบบคือใคร ใครคือแรงงานอกระบบ
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงาน และการบริหารงานสำนักงาน
สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ผลิตไฟฟ้าเพื่อความสุขของคนไทย
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ ของขวัญปีใหม่ในปี 2547
การบริการวิกฤตสุขภาพจิตและการปฏิบัติงานทีม MCATTและบทบาทหน้าที่
ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ
ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง กำหนดแบบแจ้งการเกิดอุบัติภัยร้ายแรง หรือการประสบอันตรายจากการทำงาน พ.ศ ลงวันที่ 19 กันยายน 2554.
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง สัญลักษณ์เตือนอันตราย เครื่องหมายเกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน และข้อความแสดงสิทธิและหน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้าง.
ประกาศสำนักงานประกันสังคม เรื่อง กำหนดอัตราผลประโยชน์ตอบแทนเงินบำเหน็จชราภาพประจำปี พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 7 พฤษภาคม 2556.
ประกาศสำนักงานประกันสังคม เรื่อง กำหนดอัตราผลประโยชน์ตอบแทนเงินบำเหน็จชราภาพประจำปี พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 3 เมษายน 2555.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ เรื่อง หลักเกณฑ์และ อัตราสำหรับประโยชน์ทดแทนใน.
ประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ เรื่อง หลักเกณฑ์การจ่ายค่าทดแทนการขาดรายได้ กรณีทุพพลภาพอันมิใช่เนื่องจากการทำงาน ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 13.
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
อย่าลืมปิดเสียงเครื่องมือสื่อสาร นะจ๊ะ
ระบบประกันสังคม มี 2 กองทุน.....
บุหรี่และสุรา ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพระหว่าง ครัวเรือนที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน วิชัย โชควิวัฒน สุพล ลิมวัฒนานนท์ กนิษฐา.
เรื่อง อันตรายของความร้อนและการป้องกัน
การบริหารและกระบวนการวางแผน
ปี 2549 จากประชากรทั้งสิ้น ล้านคน เป็นผู้มีงานทำ ล้านคน
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
การประเมินค่างาน ดร. สุจิตรา ธนานันท์.
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
และผลประโยชน์เกื้อกูล
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
การติดตาม และการควบคุม (Monitoring and Control)
ภารกิจสำนักงานประกันสังคม
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
กลุ่มที่ 7 สมาชิกประกอบด้วย น. ส. ทิภากรณ์ศักพันธุ์ น. ส. ทิภากรณ์ศักพันธุ์ น. ส. สุภาพร แซ่คู น. ส. สุภาพร แซ่คู น. ส. ภูษณิศา แพงไพรรี น. ส. ภูษณิศา.
การจัดการงานบุคคลของสหกรณ์ออมทรัพย์
ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ
อ.สุเนตร มูลทา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ เรื่อง หลักเกณฑ์และ อัตราสำหรับประโยชน์ทดแทนใน.
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์การตรวจสุขภาพและจัดทำบัตรตรวจสุขภาพของลูกจ้างที่ทำงานประดาน้ำ พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
Change Management.
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง ลักษณะการประสบอันตรายหรือ เจ็บป่วยที่คณะกรรมการการแพทย์ จะ พิจารณาให้นายจ้างจ่ายค่ารักษาพยาบาล.
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง การประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยอย่างอื่นซึ่งรุนแรงและเรื้อรัง พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 22 กุมภาพันธ์ 2549.
คำชี้แจงกระทรวงแรงงาน เรื่อง พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 12 กันยายน 2554.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ ตาม พระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ เรื่อง หลักเกณฑ์ และอัตรา สำหรับประโยชน์ทดแทนในกรณี
กฎกระทรวงกำหนดอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม พ. ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สุขภาพและความปลอดภัย ของผู้ปฏิบัติงาน ดร. สุจิตรา ธนานันท์

กฎหมายที่เกี่ยวข้อง พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ.2533, 2537, 2542 (สำนักงานประกันสังคม)       กำหนดให้มีการจัดเก็บเงินสมทบจากนายจ้าง ลูกจ้าง และรัฐบาล เพื่อให้ความคุ้มครองแก่ลูกจ้างที่ประสบอันตราย เจ็บป่วย ทุพพลภาพ หรือตายที่มิใช่เป็นผลสืบเนื่องจากการทำงาน รวมทั้งกรณีคลอดบุตร กรณีสงเคราะห์บุตร กรณีชราภาพ และกรณีว่างงาน โดยอัตราเงินสมทบกรณีประสบอันตราย เจ็บป่วย ทุพพลภาพ ตาย และคลอดบุตร ให้จัดเก็บในอัตรารวม 3 ฝ่ายไม่เกินร้อยละ 4.5 (เพิ่มเป็นร้อยละ 5 ตั้งแต่ปี 2547) ของค่าจ้าง

สำหรับกรณีสงเคราะห์บุตรและกรณีชราภาพ ให้จัดเก็บในอัตรารวม 3 ฝ่ายไม่เกินร้อยละ 9 ของค่าจ้าง และกรณีว่างงาน ให้จัดเก็บในอัตรารวม 3 ฝ่ายไม่เกินร้อยละ 15 ของค่าจ้าง ทั้งนี้ลูกจ้างที่เข้าข่ายจะได้รับบริการทางการแพทย์และเงินทดแทนการขาดรายได้ รวมถึงค่าคลอดบุตร ค่าทำศพ เงินสงเคราะห์ทายาทในกรณีตาย  ค่าสงเคราะห์บุตร และเงินบำเหน็จบำนาญ กรณีชราภาพ สำหรับกรณีว่างงาน จะดำเนินการเมื่อใดให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกาขึ้นใช้บังคับ

พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ.2537 (สำนักงานประกันสังคม) พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ.2537 (สำนักงานประกันสังคม)       กำหนดให้มีการจัดเก็บเงินสมทบจากนายจ้างปีละหนึ่งครั้ง ในอัตราร้อยละ 0.2-1.0 ของค่าจ้าง ตามลักษณะความเสี่ยงภัยของประเภทกิจการนั้นๆเงินสมทบที่จัดเก็บได้นี้ให้นำไปจ่ายเป็นเงินทดแทนให้แก่ลูกจ้างที่ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย สูญเสียอวัยวะ สูญเสียสมรรถภาพของร่างกายตายหรือสูญหายอันเนื่องมาจากการทำงานให้กับนายจ้าง โดยลูกจ้างจะได้รับเงินทดแทนเป็นค่ารักษาพยาบาล ค่าทดแทนการขาดรายได้ ค่าทำศพ หรือค่าฟื้นฟูสมรรถภาพในการทำงาน  ซึ่งขึ้นอยู่กับระดับของการประสบอันตรายนั้นๆ

พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 (กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน) พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 (กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน)       กฎหมายคุ้มครองแรงงานเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับสิทธิและหน้าที่ระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง เป็นกฎหมายที่กำหนดมาตรฐานขั้นต่ำในการใช้แรงงานทั่วไป การใช้แรงงานหญิง การใช้แรงงานเด็ก ค่าตอบแทนการทำงาน สวัสดิการ ความปลอดภัยในการทำงาน ค่าชดเชยการเลิกจ้าง และกองทุนสงเคราะห์ลูกจ้าง  รวมทั้งการดำเนินการของพนักงานเจ้าหน้าที่ในการให้ความคุ้มครองลูกจ้าง ทั้งนี้เพื่อ ให้เกิดความเป็นธรรมและให้ลูกจ้างมีสุขอนามัยที่ดี อันจะเกิดประโยชน์สูงสุดแก่นายจ้าง ลูกจ้าง และการพัฒนาประเทศ

Health : พนักงานปราศจากการเจ็บ ป่วยทั้งทางร่างกายและจิตใจ มีสุขภาพกายและใจที่สมบูรณ์แข็งแรง Safety : การป้องกันพนักงานจากการบาดเจ็บที่เกี่ยวข้องมาจากอุบัติเหตุจากการทำงาน

Safety and Health Trends “ ปัจจุบันองค์การใช้เงินจำนวนมากเพื่อสร้าง สุขภาพและความปลอดภัย ” เหตุผล : 1. ผลผลิตที่ดี 2. ลดหนี้สินของบริษัท 3. ความสัมพันธ์ระหว่างพนักงาน 4. การตลาดก่อให้เกิดการแข่งขัน 5. กำไร

ส่วนประกอบของสภาพการทำงาน 1. สถานที่ทำงาน 2. การใช้เครื่องจักร เครื่องมือ 3. เครื่องป้องกันอันตรายจากเครื่องจักร 4. เครื่องป้องกันภัย 5. สภาพแวดล้อมในที่ทำงาน 6. สี แสง เสียง กลิ่น 7. สภาพภายนอกที่ทำงาน

สิ่งแวดล้อมที่เป็นภัยต่อสุขภาพและความปลอดภัย 1. สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ (Physical Environment) 2. สิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ (Biological Environment) 3. สิ่งแวดล้อมทางเคมี (Chemical Environment) 4. สิ่งแวดล้อมทางสังคม เศรษฐกิจ (Social and Economic Environment)

ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ และความปลอดภัยในการทำงาน 1. ลักษณะงาน 2. ทัศนคติของบุคลากร 3. ทัศนคติของฝ่ายบริหารขององค์การ 4. สภาพทางเศรษฐกิจ 5. สหภาพแรงงาน 6. รัฐบาล

วัตถุประสงค์ของ Safety Program เพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมทางจิตวิทยา และ ทัศนคติที่จะส่งเสริมเรื่องความปลอดภัย พัฒนาและรักษาสภาพแวดล้อมของการ ทำงานทางด้านกายภาพที่ปลอดภัย

เหตุผลที่ผู้จัดการระดับสูงสนับสนุน Safety Program 1. การสูญเสียทางด้านบุคลากร 2. การสูญเสียทางด้านการเงินแก่พนักงานที่ เจ็บป่วย 3. การสูญเสียผลิตผล 4. ค่าเบี้ยประกันจะสูงขึ้น 5. องค์การอาจจะต้องเสียเงินค่าปรับและการ จำคุก 6. ความรับผิดชอบต่อสังคม

สาเหตุความไม่ปลอดภัยในการทำงาน 1. สภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe Conditions) - สภาพทางเคมี - สภาพทางกายภาพ - สภาพทางกลไก 2. การกระทำของบุคคลที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe Personal Acts)

การรักษาความปลอดภัยในการทำงาน 1. ควบคุมสภาพที่ก่อให้เกิดอันตราย อันมีสาเหตุมาจาก - สภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัย - การกระทำที่ไม่ปลอดภัยของบุคคล 2. ควบคุมขณะปฏิบัติงาน 3. ควบคุมมิให้เกิดอันตรายซ้ำ

การตรวจสอบและรายงานความปลอดภัยในการทำงาน... 1. วัตถุประสงค์ในการตรวจสอบและรายงาน 1) เพื่อแสดงให้เห็นว่าฝ่ายบริหารมีความจริงใจ และตั้งใจจริงต่องานด้านรักษาความปลอดภัย 2) เพื่อหาข้อมูลและสาเหตุของความไม่ปลอดภัย สำหรับนำมาใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อการแก้ไข และการกำหนดมาตรการป้องกันมิให้อันตราย เกิดขึ้นอีก 3) เพื่อเปรียบเทียบผลงานด้านการรักษาความ ปลอดภัยในการทำงานกันแผนงานทางด้านนี้ ที่กำหนดล่วงหน้า

การตรวจสอบและรายงานความปลอดภัยในการทำงาน... 4) เพื่อกระตุ้นให้พนักงาน หัวหน้างาน ผู้รับผิดชอบ และฝ่ายบริหารสนใจในงานด้านการรักษาความ ปลอดภัย 5) เพื่อประเมินและยกมาตรฐานของการรักษาความ ปลอดภัยให้อยู่ในระดับที่ต้องการ 6) เพื่อแก้ไขและบันทึกพฤติกรรมที่ไม่ปลอดภัยของ ผู้บังคับบัญชาโดยตรงของหน่วยงานเท่านั้น 7) เพื่อวัดผลงานในด้านการรักษาความปลอดภัย ของผู้บังคับบัญชาโดยตรงของหน่วยงานเท่านั้น 8) เพื่อตรวจสอบงาน เครื่องจักรอุปกรณ์ และวัสดุ อยู่ในสภาพที่สร้างความปลอดภัยในการทำงาน

การตรวจสอบและรายงานความปลอดภัยในการทำงาน(ต่อ) 2. ผู้รับผิดชอบในการตรวจสอบและรายงาน 3. ลักษณะของรายงาน หัวข้อในรายงานควรประกอบด้วย - ความสะอาดเรียบร้อยของพื้นทางเข้าออก และการจัดเก็บวัสดุ - สภาพเครื่องจักรอุปกรณ์ต่าง ๆ - เครื่องป้องกันส่วนบุคคลที่ใช้ในการทำงาน - เครื่องป้องกันภัยอันตราย - การระบายอากาศ - แสงสว่าง - ลักษณะการปฏิบัติงานหรือพฤติกรรมการทำงาน - การประเมินผลการตรวจสอบความปลอดภัย - ข้อเสนอแนะเพื่อป้องกันหรือแก้ไข

1. การจูงใจผู้บริหารระดับสูง คือ การชี้แจง การจูงใจบุคคลในการสร้างความปลอดภัยในการทำงาน... 1. การจูงใจผู้บริหารระดับสูง คือ การชี้แจง เกี่ยวกับค่าใช้จ่ายที่องค์การจะต้องรับภาระ เพิ่มขึ้น หากละเลยการสร้างความปลอดภัย ในการทำงาน ค่าใช้จ่ายดังกล่าว ได้แก่ 1) ค่าใช้จ่ายทางตรง 2) ค่าใช้จ่ายทางอ้อม

การจูงใจบุคคลในการสร้างความปลอดภัยในการทำงาน... 2. การจูงใจหัวหน้างาน ให้สนใจทางด้านการ รักษาความปลอดภัยกระทำได้ 2 วิธี คือ 1) การเพิ่มพูนความรู้ 2) ค่าตอบแทน

การจูงใจบุคคลในการสร้างความปลอดภัยในการทำงาน(ต่อ) 3. การจูงใจพนักงานผู้ปฏิบัติงาน การจูงใจ พนักงานให้ทำงานอย่างปลอดภัย คือ 1) การให้การฝึกอบรม 2) ให้หัวหน้างานเป็นผู้ดำเนินการ 3) การส่งเสริมให้มีการทำงานโดย ปลอดภัย 4) ทัศนคติของกลุ่มในด้านความ

ผู้รับผิดชอบทางด้านความปลอดภัย 1. ผู้บริหาร 2. ผู้อำนวยการด้านความปลอดภัย 3. หัวหน้างาน 4. พนักงาน 5. สหภาพแรงงาน

โครงการทางด้านสุขภาพกาย... 1. จัดให้มีการตรวจร่างกายก่อนเข้าทำงาน 2. จัดหาข้อมูลและความรู้ทางด้านสุขภาพ สำนักงาน 3. แนะนำควบคุมและจัดให้มีการรักษาอนามัย ของพนักงานอย่างถูกต้องและเหมาะสม 4. ให้คำปรึกษาแนะนำแก่พนักงานที่มีปัญหา ทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต 5. จัดให้มีการบันทึกประวัติพนักงาน

โครงการทางด้านสุขภาพกาย (ต่อ) 6. จัดให้มีการปฐมพยาบาลอย่างเหมาะสม ในงาน 7. จัดให้มีอุปกรณ์รักษาพยาบาลให้เพียงพอ 8. จัดให้มีนายแพทย์และพยาบาลอยู่ประจำ องค์การ 9. ให้ความร่วมมือกับแพทย์เพื่อประสานงานกัน ในการจัดระบบป้องกันอันตรายจากการ ทำงาน 10. ให้ความร่วมมือกับหน่วยงานสาธารณสุข ของรัฐ

โครงการทางด้านสุขภาพจิต เหตุผล : 1. ลักษณะการดำเนินงานในปัจจุบันมี ความยุ่งยากสลับซับซ้อนมากขึ้น 2. ความคับข้องใจหรือความยุ่งยากของ ผู้ปฏิบัติงานมีผลต่องานขององค์การ 3. ไม่อาจแยกสุขภาพทางกายออกจาก สุขภาพจิตได้

Stress Management ที่มาของความเครียด : 1. ครอบครัว 2. ปัญหาทางการเงิน 1. ครอบครัว 2. ปัญหาทางการเงิน 3. สภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัย 4. วัฒนธรรมของหมู่คณะ 5. บทบาทที่คลุมเครือ 6. บทบาทที่ข้ดแย้งกัน 7. ภาระงานที่มากเกินไป 8. สภาพแวดล้อมการทำงาน

Stress Management… 1. General Organization Program - การวิเคราะห์งาน (Job Analysis) - การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (HRD) - การมีการสื่อสาร การจูงใจ รูปแบบ ภาวะผู้นำที่มีประสิทธิผล - การพัฒนาองค์การ - การวางแผนและการพัฒนาสายอาชีพ - การประเมินผลงาน - การจ่ายค่าตอบแทน

Stress Management (ต่อ) 2. Specific Techniques 3. Special Organization Program - การสะกดจิต (Hypnosis) การเรียนรู้การควบคุมการทำงานของกาย และจิต (Biofeedback) - การทำสมาธิ (Transcendental meditation) - Physical fitness - Alcohol and Drug Abuse - Employee Assistance Programs

Hyponosis คือ การสะกดจิต เพื่อเป็นการทำให้จิตใจสงบและให้ผู้ที่ถูกสะกดจิตบอกเล่าถึงเรื่องราวที่อยู่ในระดับจิตใต้สำนึกออกมา จะช่วยในเรื่องการผ่อนคลาย ลดความตึงเครียดที่มีอยู่ในใจ Biofeedback เป็นวิธีการใช้เพื่อควบคุมกระบวนการทางร่างกายที่ไม่สามารถควบคุมได้ Transcendental meditation คือ เทคนิคการลดความเครียดโดยการทำสมาธิ เพื่อให้พนักงานหยุดความคิดที่วุ่นวาย และเกิดความสบายใจขึ้น

Physical Fitness Programs ตัวอย่าง ในอเมริกา บริษัททางธุรกิจหลายแห่งมีโปรแกรม เกี่ยวกับการออกกำลังกาย มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ พนักงานมีสุขภาพที่แข็งแรง เพื่อลดความสูญเสีย ในการทำงานทั้งจากการสูญเสียทางด้านผลผลิต หรือการเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ

Alcohol Abuse Programs Alcolholism คือ การเจ็บป่วยที่มีลักษณะควบคุมตนเองไม่ได้ และต้องดื่มสุราอย่างหนัก ซึ่งจะเข้าไปทำลายชีวิตความเป็นอยู่ของคน ๆ นั้น ให้มี ลักษณะผิดแผกออกไป ในปัจจุบันถือเป็นปัญหาใหญ่ ซึ่งอาจเกิดจากความเครียดมากเกินไป การดื่มมากเกินไปทำให้ความสามารถในการทำงานลดลง ดังนั้น Alcohol Abuse Programs จึงต้องทำงานร่วมกับ Wellness Programs ที่ดีด้วย

Drug Abuse Programs จะคล้ายกับ Alcohol ทำงานหรือมีการจัดส่งพนักงานที่ติดยาไปรับการบำบัด โดยแพทย์หรือผู้ที่เชี่ยวชาญและการส่งพนักงานเพื่อเข้า Employee Assistance Programs Employee Assistance Programs (EAP) เป็นแนวทางซึ่งหลายองค์การได้จัดทำขึ้นเพื่อจัดการกับ ปัญหาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาทางบ้านหรือที่ทำงาน ใน EAP จะมีการจัดหาผู้ที่มีความชำนาญเพื่อให้คำปรึกษา หรือแนะนำการบริการด้านต่าง ๆ ที่เหมาะสมให้แก่พนักงาน วัตถุประสงค์ของ EAP คือ การช่วยเหลือพนักงานทั้งใน ด้านสุขภาพและทางด้านจิตใจ

แนวคิดการจัดการด้านสุขภาพและความปลอดภัยของ มาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ( มอก. 18001 ) เล็งเห็นการเจ็บป่วยและอุบัติเหตุเป็นความสูญเสียต่อพนักงาน ครอบครัว นายจ้าง และองค์การ ป้องกันความสูญเสียที่เกิดขึ้นจากอุบัติเหตุและโรคภัย ไข้เจ็บจากการทำงาน เอาใจใส่เรื่องความปลอดภัยและอาชีวอนามัย เพราะช่วยให้องค์การมีความยั่งยืน มีความเห็นว่าการคุ้มครองด้านแรงงานช่วย เพิ่มผลผลิตได้มากขึ้น เน้นการสร้างจิตสำนึกเรื่องความปลอดภัยให้ กับพนักงาน เพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายจากเงินกองทุนทดแทน

ประโยชน์จากการนำมาตรฐาน มอก. 18001 ไปใช้ ประโยชน์จากการนำมาตรฐาน มอก. 18001 ไปใช้ ป้องกันอุบัติภัยและเตรียมพร้อมสำหรับอุบัติเหตุและภาวะฉุกเฉิน ลดอัตราอุบัติเหตุ ความเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุ และประหยัดค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่ายด้านการจัดการลดลงหากนำระบบการจัดการอื่นมาใช้ร่วมด้วย พนักงานมีสภาพแวดล้อมในการทำงานที่เหมาะสม ชุมชนมั่นใจในความปลอดภัยขององค์การ เพิ่มผลผลิต

ขั้นตอนในการจัดทำมาตรฐาน มอก. 18001 ทบทวนสถานะเริ่มต้น กำหนดนโยบายอาชีวอนามัยและความปลอดภัย วางแผน นำไปใช้และการปฏิบัติ