การแสดงผลและการรับข้อมูล (Data Output and Input)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การควบคุมตำแหน่งการแสดงผล และการจัดวางข้อมูลบนจอภาพ
Advertisements

บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
การจัดการความผิดพลาด
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
ประเภทของข้อมูลและตัวดำเนินการ Data Types and Operator (บทที่ 3)
การแสดงผล และการรับข้อมูล การแสดงผล และการรับข้อมูล.
การรับค่าและแสดงผล.
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
File.
องค์ประกอบของโปรแกรม
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
การแสดงผล และการรับข้อมูล
รับและแสดงผลข้อมูล.
PHP LANGUAGE.
เรื่อง ประเภทของข้อมูล
Week4 Data types, Variables, Operators and Input/output (ต่อ)
SCC : Suthida Chaichomchuen
การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
บทที่ 3 Class and Object (1) การสร้างและการใช้งานคลาส
คลาสและวัตถุ (2) (Class & Object)
 เป็นเมธอดที่มีคุณลักษณะของ Polymorphism รูปแบบหนึ่ง โดยใช้ชื่อเมธอดเดียวกัน มากกว่า 1 เมธอด เพื่อทำงานในแบบเดียวกัน  คลาสลูกสามารถเขียนทับ เมธอดของคลาสแม่ได้
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
คลาสและวัตถุ (3) (Class & Object)
คลาสและวัตถุ (2) (Class & Object)
File Stream File Stream หมายถึง ท่อส่งข้อมูลไฟล์จากต้นทางไปยังปลายทาง
คลาสและวัตถุ (3) (Class & Object). w5_000.rar การใช้งานเมธอดภายในคลาสเดียวกัน ข้อ 24, 25 as5_000.rar การใช้งานเมธอดภายในคลาสเดียวกัน ข้อ 23 2.
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
อาร์เรย์ (Array).
ไวยากรณ์ของภาษาการทำโปรแกรม (1) (Syntax of programming languages)
สตริง (String).
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
บทที่ 6 เมธอด.
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ทำงานกับ File และStream
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
คณิตศาสตร์ และการจัดรูปแบบ
ใบงานที่ 7 การรับและแสดงผลข้อมูล
Liang, Introduction to Java Programming, Sixth Edition, (c) 2007 Pearson Education, Inc. All rights reserved Java Programming Language.
การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
รายละเอียดของ Print Screen หน้าจอสังเกตการณ์ ของคณะกรรมการประกวดราคา (โปรแกรม CAT e-auction โลโก้ใหม่)
Week 2 Variables.
การประมวลผลสายอักขระ
Computer Programming for Engineers
การเขียนโปรแกรม ตอนที่ 1 (ต่อ)
บทที่ 3 Class and Object (2).
คำสั่งรับค่า และ แสดงผลค่า. คำสั่งรับ - แสดงผล 1. printf( ) เป็น ฟังก์ชันที่ใช้ในการ แสดงผลข้อมูลที่อยู่ในตัว แปร ค่าคงที่ นิพจน์ออกมา ทางจอภาพ.
บทที่ 3 ชนิดข้อมูล ตัวแปร นิพจน์และตัวดำเนินการ
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
บทที่ 2 การแสดงผลและรับข้อมูล
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
Output of C.
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
BC305 การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ
Inheritance และ Encapsulation.  การสร้างหรือพัฒนาคลาสใหม่จากคลาสเดิมที่ มีอยู่แล้ว  คลาสใหม่จะนำแอตทริบิวต์และเมธอดของ คลาสเดิมมาใช้  เป็นการถ่ายทอดคุณสมบัติจากคลาสหนึ่งสู่อีก.
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
Variable, Data type, Expression, Operators Data input, Data output
WEEK5-2: 14 SEP 2017 Input / Output Selection Statement
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การแสดงผลและการรับข้อมูล (Data Output and Input) บทที่ 5 การแสดงผลและการรับข้อมูล (Data Output and Input)

การแสดงผลข้อมูลด้วยเมธอด printlnหรือ print() รูปแบบการใช้งาน System.out.println(argument1 + argument2 + ... + argumentn) หรือ System.out.print(argument1 + argument2 + ... + argumentn) โดยที่ argument1, argument2, argumentn เป็นข้อมูลที่ต้องการแสดงผล อาจจะเป็นข้อความ ตัวแปร หรือนิพจน์ ซึ่งสามารถเขียนต่อกันได้ โดยใช้เครื่องหมาย “+”

รหัสควบคุมการแสดงผล อักขระพิเศษ ความหมาย \b เลื่อนเคอร์เซอร์ถอยหลังไป 1 ตัวอักษร \f ขึ้นหน้าใหม่ \n ขึ้นบรรทัดใหม่ \r เลื่อนเคอร์เซอร์ไปทางซ้ายสุด \t แสดงแท็บตามแนวนอน \’ แสดงเครื่องหมาย ‘ \” แสดงเครื่องหมาย “ \\ แสดงเครื่องหมาย \ \xxx แสดงตัวอักษรรหัส Ascii เช่น \065 เป็นการแสดงตัวอักษร A \uxxx แสดงตัวอักษรรหัส Unicode เช่น \u0008 เป็นการขึ้นบรรทัดใหม่

ข้อแตกต่างระหว่างเมธอด println() และ print()

การแสดงผลข้อมูลด้วยเมธอด printf() รูปแบบการใช้งาน System.out.println(Control_String, argument1, argument2, ..., argumentn) โดยที่ Control_String ประกอบด้วย รหัสควบคุมการแสดงผล, รหัสการแสดงผล และส่วนขยายรหัสการแสดงผล argument1, argument2, argumentn เป็นข้อมูลที่ต้องการแสดงผล

รหัสการแสดงผลและส่วนขยายรหัสการแสดงผล ชนิดของข้อมูลที่ใช้ %c ตัวอักขระ %d เลขจำนวนเต็ม %f เลขทศนิยม %e เลขในรูป exponential %s ข้อความ %u เลขจำนวนเต็มไม่คิดเครื่องหมาย ส่วนขยาย รายละเอียดการใช้งาน - ให้แสดงผลจากซ้ายไปขวา + ให้แสดงผลจากขวามาซ้าย ตัวเลข กำหนดจำนวนตำแหน่งสำหรับการแสดงผล ถ้าเป็นการแสดงผลจากขวามาซ้าย และจำนวนข้อมูลที่แสดงผลน้อยกว่าจำนวนตำแหน่งจะเติมส่วนที่เหลือด้านซ้ายด้วยช่องว่าง . (จุดทศนิยม) กำหนดรูปแบบการแสดงผลให้มีจุดทศนิยม

ตัวอย่างการใช้งานเมธอด printf()

การแสดงผลข้อมูลด้วยคลาส JOptionPane (1) ใช้เมธอด showMessageDialog() มีรูปแบบการใช้งาน ดังนี้ JOptionPane.showMessageDialog(Parent_Window,Message, Title,Type); โดยที่ Parent_Window เป็นชื่อของ parent window ที่ต้องการแสดงผล ถ้าค่าเป็น null จะแสดงไดอะล็อกบ็อกซ์กลางหน้าจอ Message เป็นข้อความที่ต้องการแสดงในไดอะล็อกบ็อกซ์ Title เป็นข้อความที่ปรากฏในส่วนของ Title bar ของไดอะล็อกบ็อกซ์ Type เป็นชนิดของไดอะล็อกบ็อกซ์ ซึ่งจะถูกกำหนดโดยค่าคงที่ต่อไปนี้

การแสดงผลข้อมูลด้วยคลาส JOptionPane (2) Type เป็นชนิดของไดอะล็อกบ็อกซ์ ซึ่งจะถูกกำหนดโดยค่าคงที่ต่อไปนี้ ERROR_MESSAGE เป็นการแสดงข้อผิดพลาด และแสดงสัญลักษณ์ INFORMATION_MESSAGE เป็นการแสดงข้อความทั่วไป และแสดงสัญลักษณ์ PLAIN_MESSAGE เป็นการแสดงข้อความทั่วไป โดยไม่มีการแสดงสัญลักษณ์ QUESTION_MESSAGE เป็นการแสดงในลักษณะคำถาม และแสดงสัญลักษณ์ WARNING_MESSAGE เป็นการแสดงในลักษณะแจ้งเตือน และแสดงสัญลักษณ์ ในกรณีที่ไม่มีการกำหนดค่าในส่วนของ Title และ Type Title จะถูกกำหนดเป็น “Message” Type จะถูกกำหนดเป็น INFORMATION_MESSAGE

ตัวอย่างการทำงานของเมธอด showMessageDialog()

การจัดรูปแบบการแสดงผลด้วยคลาส DecimalFormat DecimalFormatdf= new DecimalFormat(argument); String str= df.format(payment); โดยที่ argument เป็นรูปแบบการแสดงผลที่ต้องการ ประกอบด้วย 0 แทนตัวเลข 0 ในกรณีที่ต้องการให้แสดงตัวเลข “#” แทนตัวเลขใดๆ ที่ไม่ใช่ 0 ในกรณีที่เป็นเลข 0 จะไม่แสดงผล “,” ให้แสดงผลโดยมีเครื่องหมาย “,” เป็นตัวคั่นในหลักพัน df เป็นชื่อออบเจ็กต์ของคลาสที่สร้างขึ้น str เป็นชื่อตัวแปรที่ใช้รับค่าที่กำหนดรูปแบบ

ตัวอย่างการใช้งานเมธอด format()

การรับข้อมูลด้วยคลาส InputStreamReader ทำงานร่วมกับคลาส BufferredReader รับข้อมูลครั้งละ 1 บรรทัด ใช้เมธอด readLine() ซึ่งเป็นการรับข้อมูลชนิดข้อความ (String) จะต้อง import แพ็คเกจ java.io ก่อนเสมอ มีรูปแบบการใช้งาน ดังนี้ InputStreamReader reader = new InputStreamReader(System.in); BufferedReader stdin = new BufferedReader(reader); หรือ BufferedReader stdin = new BufferedReader(new InputStreamReader(System.in));   โดยที่ reader เป็นชื่อออบเจ็กต์ของคลาส InputStreamReader stdin เป็นชื่อออบเจ็กต์ของคลาส BufferedReader

ตัวอย่างการรับข้อมูลด้วยคลาส InputStreamReader

การรับข้อมูลชนิดข้อความด้วยคลาส Scanner รับข้อมูลชนิดของข้อมูลเป็นข้อความหรือตัวเลขก็ได้ ต่างจากการรับข้อมูลด้วยคลาส InputStreamReader ที่รับข้อมูลได้เฉพาะข้อความเท่านั้น การใช้งานคลาส Scanner ต้องสร้างออบเจ็กต์จากคลาส Scanner ก่อน จะต้อง import แพ็คเกจ java.util.Scanner และประกาศออบเจ็กต์ตามรูปแบบ ดังนี้ Scanner sn = new Scanner(System.in);   โดยที่ sn เป็นชื่อออบเจกต์ที่สร้างจากคลาส Scanner System.in เป็นช่องทางการนำเข้าข้อมูลมาตรฐาน หมายถึง การอ่านข้อมูลจากแป้นพิมพ์

เมธอดของคลาส Scanner nextInt() สำหรับรับข้อมูลประเภทเลขจำนวนเต็ม nextFloat() สำหรับรับข้อมูลประเภทเลขจำนวนทศนิยมชนิด float nextDouble() สำหรับรับข้อมูลประเภทเลขจำนวนทศนิยมชนิด double nextLine() สำหรับรับข้อมูลประเภทข้อความ

การรับผลข้อมูลด้วยคลาส JOptionPane (1) ใช้เมธอด showInputDialog() มีรูปแบบการใช้งาน ดังนี้ String data = JOptionPane.showInputDialog(Parent_Window, Message, Title, Type); โดยที่ Parent_Window เป็นชื่อของ parent window ที่ต้องการแสดงผล ถ้าค่าเป็น null จะแสดงไดอะล็อกบ็อกซ์กลางหน้าจอ Message เป็นข้อความที่ต้องการแสดงในไดอะล็อกบ็อกซ์ Title เป็นข้อความที่ปรากฏในส่วนของ Title bar ของไดอะล็อกบ็อกซ์ Type เป็นชนิดของไดอะล็อกบ็อกซ์ ซึ่งจะถูกกำหนดโดยค่าคงที่ต่อไปนี้

การรับผลข้อมูลด้วยคลาส JOptionPane (2) Type เป็นชนิดของไดอะล็อกบ็อกซ์ ซึ่งจะถูกกำหนดโดยค่าคงที่ต่อไปนี้ ERROR_MESSAGE เป็นการแสดงข้อผิดพลาด และแสดงสัญลักษณ์ INFORMATION_MESSAGE เป็นการแสดงข้อความทั่วไป และแสดงสัญลักษณ์ PLAIN_MESSAGE เป็นการแสดงข้อความทั่วไป โดยไม่มีการแสดงสัญลักษณ์ QUESTION_MESSAGE เป็นการแสดงในลักษณะคำถาม และแสดงสัญลักษณ์ WARNING_MESSAGE เป็นการแสดงในลักษณะแจ้งเตือน และแสดงสัญลักษณ์ ในกรณีที่ไม่มีการกำหนดค่าในส่วนของ Title และ Type Title จะถูกกำหนดเป็น “Input” Type จะถูกกำหนดเป็น QUESTION _MESSAGE

ตัวอย่างการทำงานของเมธอด showInputDialog()