5. Geologic Time F.S.Singharajwarapan
ธรณีกาล Geologic Time
เวลาสัมบูรณ์ (Absolute Time) เวลาสัมพัทธ์ (Relative Time) ระยะเวลาที่บ่งบอกว่าเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาเกิดขึ้นเมื่อไร เป็นตัวเลขและหน่วย เช่น 40 ล้านปี เวลาสัมพัทธ์ (Relative Time) การเปรียบเทียบเหตุการณ์ในอดีต ว่าอะไรเกิดก่อน-หลัง โดยไม่ระบุเป็นตัวเลข
Radiometric (Isotopic) Dating การหาเวลาสัมบูรณ์ Radiometric (Isotopic) Dating อาศัยการสลายตัวของธาตุกัมมันตภาพรังสี นิวเคลียสสลายให้อนุภาค ทำให้ธาตุเริ่มต้นเปลี่ยนไปเป็นธาตุใหม่ = ISOTOPE โดยอัตราการสลายตัวของแต่ละธาตุจะคงที่ ทำให้คำนวณอายุของแร่หรือหินได้ ครึ่งชีวิต (Half Life) = เวลาที่ parent isotope สลายตัวลดลงครึ่งหนึ่งของจำนวนเดิม เช่น HALF LIFE (t1/2) ของ U238 = 4.51 พันล้านปี
Uranium-238/Lead-206 Uranium-235/Lead-205 Potassium-40/Argon-40 Rubidium-87/Strontium-87
เวลาสัมพัทธ์ (Relative Time) เป็นการจัดลำดับชั้นหินว่าชั้นไหนเกิดก่อน-หลัง โดยอาศัยตำแหน่งของชั้นหิน The Law of Superposition ชั้นหินที่ไม่ถูกพลิกจนเกิน 90 องศา (overturned) ชั้นล่างสุดจะมีอายุแก่ที่สุดเสมอ The Law of Cross Cutting Relationship ชั้นหินที่ถูกตัดจะแก่กว่าหินที่มาตัดเสมอ
(http://www.kingfish.coastal.edu)
การเปรียบเทียบหินตะกอน (Correlation of Sedimentary Rocks) การเปรียบเทียบหินตะกอนจากที่ต่างๆโดยอาศัย การเทียบอายุ ลำดับชั้นหิน ตลอดจนเหตุการณ์และสิ่งแวดล้อมขณะเกิดที่คล้ายกัน เปรียบเทียบโดยลักษณะทางกายภาพ Key Bed = ชั้นหินที่มีลักษณะพิเศษเฉพาะ เช่น มีชั้นถ่านหินแทรกสลับ Sequence = ลำดับชั้นหิน มีการเริ่มต้นและสิ้นสุดเหมือนกัน เปรียบเทียบโดยซากดึกดำบรรพ์ Guide (Index) Fossil ซากดึกดำบรรพ์ที่เกิดในช่วงสั้นๆ กระจายตัวทั่วโลก
(Lutgens and Tarbuck,1996)
(Hamblin,1994)
ตารางธรณีกาล (GEOLOIC TIME SCALE) การเรียงลำดับชุดหินที่พบโดยอาศัย The Law of Superposition และซากดึกดำบรรพ์ ทำให้เกิด แท่งธรณี (Geologic Column) ตามลำดับการเกิดก่อน-หลัง หรือใช้เวลาสัมพัทธ์ อาศัย Geologic Column เรียงลำดับหินยุคต่างๆทั่วโลก นำหินช่วงต่างๆไปหาเวลาสัมบูรณ์ แบ่งเป็นหน่วยเวลา มหายุค (Eras) ยุค (Periods) สมัย (Epochs) อายุ (Ages) = ตารางธรณีกาล (Geologic Time Scale)
Geologic Column
ทำให้เกิด Geologic Column Correlation ทั่วโลก ทำให้เกิด Geologic Column
มหายุค ยุค สมัย อายุ Ages ตารางธรณีกาล Geologic Time Scale
Stratigraphy of Thailand การลำดับชั้นหินของประเทศไทย Precambrian-Quaternary Igneous-Sedimentary-Metamorphic Rocks Precambrian-Quaternary Igneous-Sedimentary-Metamorphic Rocks
Geologic map of Thailand
Geology for Engineers เฟลด์สปาร์ (FELDSPAR) แพลจิโอเคลส (Plagioclase) เป็นกลุ่มแร่ที่มีมากที่สุดในเปลือกโลก (64%) เป็นแร่ที่ยุ่งยากและมีส่วนประกอบเปลี่ยนแปลงเป็นช่วงกว้าง โพแทสเซียมเฟลด์สปาร์ K(Si3Al)O8 มีแร่ที่มีสูตรเดียวกันแต่ผลึกต่างรูปอยู่สามตัว คือ ออร์โทเคลส ไมโครไคล์น และ ซานิดีน แพลจิโอเคลส (Plagioclase) มีช่วงส่วนประกอบเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง (Solid Solution) จาก อะนอร์ไทต์ [Ca(Si2Al2)O8] ไปเป็น >> แอลไบต์ [Na(Si3Al)O8] เฟลด์สปาร์พบมากทั้งในเปลือกโลกส่วนทวีปและมหาสมุทร Geology for Engineers