งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ปฏิบัติการที่ 5 หินตะกอน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ปฏิบัติการที่ 5 หินตะกอน."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ปฏิบัติการที่ 5 หินตะกอน

2 หินตะกอน (SEDIMENTARY ROCKS)
คือ หินซึ่งเกิดจากการสะสมของตะกอน (sedimentation) หรือเกิดจากการตกตะกอนทางเคมีในน้ำ แล้วเกิดการแข็งตัว (lithification) กลายเป็นหิน

3 การแบ่งชนิดของหินตะกอน
ใช้คุณสมบัติ 3 ประการ คือ การเกิด (origin) เนื้อหิน (texture) และส่วนประกอบ (composition)

4 สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับการเกิดหินตะกอน

5 [ Biochemical (Organic) origin ]
การเกิดของหินตะกอน การสะสมของเม็ดตะกอน (Detrital origin) การตกตะกอนทางเคมี (Chemical origin) เกิดจากอินทรีย์สาร [ Biochemical (Organic) origin ]

6 เนื้อเม็ด (Clastic Texture)
คือเนื้อที่ประกอบด้วยเศษหินและเม็ดแร่ ซึ่งแตกหรือผุพังมาจากหินเดิม (Detrital origin) อาศัยขนาดตะกอนในการเรียกชื่อ

7 หินกรวด หินทราย หินโคลน

8

9 Breccia Conglomerate Sandstone Shale

10 เนื้อผลึก (Nonclastic Texture) ผลึกขนาดเล็กละเอียด
คือเนื้อที่มีลักษณะเป็นผลึกขนาดเล็กยึดเกี่ยวกัน ทำให้เนื้อแน่นมาก เกิดจากการตกตะกอนทางเคมี (Chemical origin) อาศัยส่วนประกอบ ในการเรียกชื่อหิน โดยมักมีแร่เด่นเพียงอย่างเดียว แร่ dolomite หิน dolomite / dolostone แร่ chalcedony/chert หิน chert แร่ halite หิน rock salt แร่ gypsum หิน gypsum

11

12 Chert Gypsum Dolomite Limestone

13 Biochemical / Organic origin
Clastic texture Coquina Fossiliferrous limestone Nonclastic texture Coal เติมรูป

14 ปฏิบัติการที่ 5 หินแปร

15 หินแปร (METAMORPHIC ROCKS)
คือ หินซึ่งเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางส่วนประกอบของแร่ และ/หรือการเปลี่ยนแปลง โครงสร้างหรือเนื้อหินของหินเดิม เนื่องจากความร้อนหรือความร้อนและความกดดันภายใต้ผิวโลก

16 การแบ่งชนิดของหินแปร
ใช้คุณสมบัติ 3 ประการ คือ การเกิด (origin) เนื้อหิน (texture) และส่วนประกอบ (composition)

17 การเกิด : การแปรสภาพแบบสัมผัส (Contact Metamorphism)
การแปรสภาพแบบภูมิภาค (Regional Metamorphism) การแปรสภาพแบบสัมผัส Contact Metamorphism การแปรสภาพแบบภูมิภาค Regional Metamorphism

18 การแปรสภาพแบบภูมิภาค (Regional Metamorphism)
เกิดจากการเปลี่ยนแปลง โดยความร้อนและความกดดัน หินอาจมีการตกผลึกใหม่ อาจมีแร่ใหม่เกิดขึ้น และที่สำคัญคือ จะเกิดการเรียงตัว (foliation)

19

20 การแปรสภาพแบบสัมผัส (Contact Metamorphism)
เกิดจากการเปลี่ยนโดยความร้อน และ/หรือปฏิกิริยาเคมีของสารละลายที่ขึ้นมาพร้อมกับแมกมา บริเวณที่แมกมาสัมผัสกับหินเดิมจะเกิดการตกผลึกใหม่ ทำให้เนื้อแน่นและแข็งขึ้น

21

22 เนื้อหิน (Texture)

23 หินแปรซึ่งมีการเรียงตัว (Foliated metamorphic rocks)
เรียกชื่อหินตามชนิดของเนื้อหิน ได้แก่ Slaty Slate Phyllitic Phyllite Schistose Schist Gneissose Gneiss Slate Gneiss Schist

24

25 หินแปรซึ่งไม่มีการเรียงตัว (Nonfoliated Metamorphic Rocks)
เกิดจากการตกผลึกใหม่ เม็ดแร่มีขนาดเดียว เนื้อแน่น (Hornfelsic texture) เนื้อละเอียดคล้ายหินอัคนี เนื้อผลึก (Granoblastic texture) เห็นผลึกละเอียด-หยาบ Hornfel เรียกชื่อโดยอาศัยส่วนประกอบ เช่น หินอ่อน (Marble) ประกอบด้วย แคลไซต์ หินควอตไซต์(Quartzite) ประกอบด้วย ควอตซ์ Quartzite Marble

26 Geology for Engineers


ดาวน์โหลด ppt ปฏิบัติการที่ 5 หินตะกอน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google