เครือข่ายแลนอีเทอร์เน็ต (Wired LANs : Ethernet)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
Advertisements

การสื่อสารข้อมูลบนเครือข่าย
การทำสายสำหรับระบบเครือข่าย
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ประโยชน์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่ 9 การเลือกซื้อใช้งาน และ การติดตั้ง อุปกรณ์เครือข่าย
การนำสายใยแก้วนำแสงมาเชื่อมต่อ หัวเชื่อมต่อที่นิยมใช้มี ดังนี้
เครือข่ายการสื่อสารข้อมูลท้องถิ่น
WIMAX มาทำความรู้จักกับ wimax กันดีกว่า Wimax คืออะไร หน้าที่ของwimax
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Cable Twist-pair (สายคู่บิดเกลียว) Coaxial (สายโคแอกเชียล)
FireNEX b Optical Repeaters
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (WEB PROGRAMMING) บทที่ 1 ความรู้เบื้งต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวด์เว็บ และโปรโตคอลที่เกี่ยวข้อง โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร.
รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายแบ่งตามกลุ่มผู้ใช้
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
นายพีระภานุพันธ์ แจ้งอนันต์
OSI MODEL.
สายคู่บิดเกลียว ข้อดี
ข้อดี-ข้อเสียของ สื่อกลาง ในการสื่อสารข้อมูล.
ข้อดี ข้อเสีย สายคู่บิดเกลียว สายคู่บิดเกลียวแบบไม่หุ้มฉนวน
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
ข้อเสีย 1.จำกัดความเร็ว
สายนำสัญญาณข้อมูลที่ใช้ หลักการทางแสง กล่าวคือ ใช้ กับสัญญาณข้อมูลที่อยู่ในรูป ของคลื่นแสงเท่านั้นตัวแก้วนำ แสงอาจทำจากแก้วหรือ พลาสติก การสูญเสียของสัญญาณแสงใน.
ข้อดี-ข้อเสียของสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
What’s P2P.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่ 7 Local Area Network
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
การออกแบบเน็ตเวิร์ก Network Dcsign
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เรื่องการสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ตัวกลางในการสื่อสารข้อมูล
อินเทอร์เน็ตInternet
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Computer Networks
Data Communication and Network
แผงวงจรหลักและการรับส่งข้อมูล (Bus)
Introduction to Network
Ethernet (802.3) มาตรฐานข้อกำหนดคุณสมบัติของ โปรโตคอล Ethernet
Fiber Optic (เส้นใยแก้วนำแสง)
รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูล
วัตถุระสงค์ สามารถเปรียบเทียบและอธิบายโทโพโลยีแต่ละรูปแบบได้ อย่างถูกต้อง สามารถบอกข้อดีและข้อเสียของโทโพโลยีแต่ละรูปแบบได้ สามารถอธิบายรายละเอียดในส่วนประกอบของเครือข่าย.
เครือข่ายแลนไร้สาย wireless LANs
ข้อดีข้อเสียของสื่อกลางประเภทมีสายและไร้สาย
วัตถุประสงค์ บอกความหมายและส่วนประกอบของการสื่อสารข้อมูลได้อย่าง ถูกต้อง บอกคุณสมบัติพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูลได้ บอกความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และประโยชน์
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
ATM (Asynchronous Transfer Mode )
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
บทที่ 2 รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) อ.พรขัย พันธุ์วิเศษ.
โครงสร้างของเครือข่ายและเครือข่ายของคอมพิวเตอร์
รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่าย
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูล 2 ง ไอที 2 ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
NETWORK.
ระบบสื่อสารข้อมูลไร้สาย
คณะผู้จัดทำ 1. ด. ญ. สุกันยา มะลิวัลย์ 2. ด. ญ. พชรมน กองอรรถ 3. ด. ญ. สุรัสวดี ภู่รักษ์ เสนอ อาจารย์ พรทิพย์ ตองติดรัมย์ เครือข่ายระบบไร้สาย wirless LAN.
Chapter 7 เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless lans)
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สื่อกลางในการสื่อ สารข้อมูลสายคู่บิดเกลียวสายใยแก้วนำแสงระบบไมโครเวฟสายโคแอกเชียลระบบดาวเทียม.
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และ อินเทอร์เน็ต. LAN Overview LANs were created to save time, money, and enable users to share information and resources more easily.
ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
* ความหมายของระบบ เครือข่าย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึงการ นำเครื่องคอมพิวเตอร์ มาเชื่อมต่อเข้า ด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื่อสาร.
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
แบบ Star จะเป็นลักษณะของการต่อ เครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทาง ของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้นใน.
แบบดาว เป็นลักษณะของการต่อเครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทางของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้น ใน โทโปโลยี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เครือข่ายแลนอีเทอร์เน็ต (Wired LANs : Ethernet)

วัตถุประสงค์ อธิบายรายละเอียดในโครงการ IEEE 802 ได้ บอกความแตกต่างระหว่าง MAC Address และ IP Address ได้ บอกความแตกต่างระหว่างการส่งข้อมูลแบบเบสแบนด์และบรอด แบนด์ได้ เข้าใจหลักการการเชื่อมต่อเครือข่ายและอุปกรณ์พื้นฐานของ เครือข่ายอีเทอร์เน็ต ซึ่งประกอบด้วย 10Base5, 10BaseT, และ 10BaseF รวมถึงอีเทอร์เน็ตความเร็วสูงในรูปแบบอื่น ๆ ได้ สามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้เพื่อการออกแบบและติดตั้ง เครือข่ายได้อย่างเหมาะสม

โครงการหมายเลข 802 (Project 802) เพื่อต้องการให้ผลิตภัณฑ์การสื่อสารทุกชนิดใช้งานร่วมกันได้ มีมาตรฐานในการสื่อสารเดียวกัน ไม่ได้นำมาทดแทน OSI โมเดล เพื่อกำหนดหน้าที่ในชั้นสื่อสารฟิสิคัล และ ดาต้าลิงค์ นำมาใช้งานเพื่อเครือข่ายท้องถิ่นเป็นหลัก

ความสัมพันธ์ของโครงการ 802 กับ OSI โมเดล

การ์ดเครือข่าย เป็นแผงวงจรที่เสียบกับสล็อตในคอม มีแมคแอดเดรสที่ใช้อ้างอิงตำแหน่งที่อยู่ เลขแมคแอดเดรสถูกบรรจุอยู่ในรอมบนการ์ดเครือข่าย เมื่อใช้งานแมคแอดเดรสจจะถูกคัดลอกไปยังหน่วยความจำหลัก

หน้าที่ของแมคแอดเดรส คล้ายคลึงกับ I/O address I/O address เป็นเสนทางให้ซีพียูเข้าถึงอุปกรณ์นั้น I/O address จะต้องมีหมายเลขที่ไม่ซ้ำกัน ถ้าซ้ำกันจะไม่สามารถ ทำงานได้ แมคแอดเดรสไม่มีการซ้ำกัน ถ้าซ้ำกันจะไม่สามารถสื่อสารกันได้ เพื่อป้องกันแมคแอดเดรสซ้ำกันจึงต้องมีการจองเลขจาก IEEE

MAC Address กับ IP Address

การทำงานของ MAC address ในการส่งข้อมูล

การส่งข้อมูลแบบเบสแบนด์และบรอดแบนด์ Baseband and Broadband

การส่งสัญญาณแบบเบสแบนด์ (Baseband) การเข้ารหัสแมนเชสเตอร์ ใช้ช่องทางการสื่อสารช่องทางเดียว การรับส่งข้อมูลทำได้ง่าย อุปกรณ์จะรับส่งข้อมูลจากสายเส้นเดียวกัน แบ่งเป็น 3 สถานะ 1 Idle

การส่งสัญญาณแบบบรอดแบนด์ (Broadband) เป็นสัญญาณแอนะล็อก เป็นการส่งข้อมูลแบบหลายช่องทาง ข้อมูลจะส่งในย่านความถี่ที่แตกต่างกัน หากสัญญาณไกลเกินจะต้องใช้อุปกรณ์ทวนสัญญาณ

การเชื่อมต่อเครือข่ายอีเทอร์เน็ต (Implementation of Ethernet)

10 Base 5 เป็นแบบดั้งเดิมในยุคเริ่มต้น ทำงานบนสายโคแอกเชียล RG8 สายป้องกันสัญญาณรบกวนได้ดี

คุณสมบัติของ 10 Base 5 อัตราความเร็ว 10Mbps แบบเบสแบนด์ ระยะทาง 500 เมตร ใช้สายโคแอกเชียลแบบหนา ระยะห่างระหว่างโหนด 2.5 เมตร ทุก 2.5 เมตรจะเป็นจุด Transciever ต่อได้ไม่เกิน 100 เครื่อง ไม่เกิน 5 เซกเมนต์ ใช้สายยาวได้ไม่เกิน 2500 เมตร หัวต่อแบบ AUI

คุณสมบัติของ 10 Base 2 อัตราความเร็ว 10 Mbps แบบเบสแบนด์ ระยะทาง 185 เมตร/เซกเมนต์ เซกเมนต์ละไม่เกิน 30 เครื่อง ไม่เกิน 5 เซกเมนต์ สายสัญญาณไม่เกิน 1000 เมตร ใช้สายโคแอกเชียลแบบบาง ใช้หัว BNC และ T-Connector มีเทอร์มิเนเตอร์ แต่ละโหนดจะห่างกันเท่าไหร่ก็ได้

10Base-T Star Bus Topology การทำงานไม่ต่างไปจากบัส มีความคงทนมากขึ้น สายขาดจะไม่เสียทั้งระบบ เซกเมนต์ติดตั้งอยู่ที่ฮับ

คุณสมบัติ 10Base-T อัตราความเร็ว 10Mbps แบบเบสแบนด์ ใช้ฮับในการเชื่อมโยง ใช้สาย UTP หัว RJ-45 ระยะทางระหว่างเซกเมนต์ไม่เกิน 100 เมตร ไม่เกิน 1024 เครื่อง

10Base-F ใช้สานไฟเบอร์ออฟติก สัญญาณแสงสามารถเดินทางได้ไกลเป็นกิโลเมตร ทนทานต่อสัญญาณรบกวน มีความปลอดภัยสูง ดักจับสัญญาณได้ง่าย

คุณสมบัติ 10Base-F อัตราความเร็ว 10 Mbps แบบเบสแบนด์ ระยะทางสูงสุด 2 กิโลเมตร รูปแบบสตาร์ ไม่เกิน 1024 โหนด ใช้สายแบบ ST และ SC ใช้การ์ดแบบคอนเน็กเตอร์คู่

ฟาสต์อีเทอร์เน็ต (Fast Ethernet) มีความเร็ว 100 Mbps อยู่ในมาตรฐาน IEEE 802.3U มีความเร็วกว่าแบบเดิม 10 เท่า

รายละเอียดของฟาสต์อีเทอร์เน็ต (Fast Ethernet) อัตราความเร็ว 100 Mbps เข้ากันได้กับเครือข่ายอีเทอร์เน็ตแบบดั้งเดิม แอดเดรสขนาด 48 บิต ใช้รูปแบบเฟรมเช่นเดิม คงรูปแบบความยาวของเฟรมที่ความยาวต่ำสุดและความยาว สูงสุด

กิกะบิตอีเทอร์เน็ต (Gigabit Ethernet) อัตราความเร็ว 1Gbps เข้ากันได้กับมาตรฐานอีเทอร์เน็ตและฟาสอีเทอร์เน็ต แอดเดรสขนาด 48 บิต ใช้รูปแบบเฟรม ความยาวต่ำสุดและความยาวสูงสุด

10 กิกะบิตอีเทอร์เน็ต (Gigabit Ethernet) อัตราความเร็ว 10 Gbps เข้ากันได้กับมาตรฐานอีเทอร์เน็ตและฟาสอีเทอร์เน็ต แอดเดรสขนาด 48 บิต ใช้รูปแบบเฟรม ความยาวต่ำสุดและความยาวสูงสุด เชื่อมต่อระดับสากล ระดับเมือง เครือข่ายระดับประเทศ