งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แผงวงจรหลักและการรับส่งข้อมูล (Bus)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แผงวงจรหลักและการรับส่งข้อมูล (Bus)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แผงวงจรหลักและการรับส่งข้อมูล (Bus)
ง เทคโนโลยีสนเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

2 วันนี้เราจะเรียนอะไร?
1. แผงวงจรหลัก 2. การรับส่งข้อมูลระหว่างหน่วยต่างๆ

3 จุดประสงค์ อธิบายการทำงานของระบบบัสพื้นฐานได้
อธิบายสถาปัตยกรรมของระบบบัสได้ นำความรู้และประโยชน์เรื่องบัสไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย

4 แผงวงจรหลัก

5 การรับส่งข้อมูลระหว่างหน่วยต่างๆ

6

7 สายส่งข้อมูล สายแพ IDE

8 สายส่งข้อมูล สาย Sata

9

10 การรับส่งข้อมูลระหว่างหน่วยต่างๆ
BUS หมายถึง ช่องทางการติดต่อสื่อสารขนถ่าย ข้อมูลจากหน่วยประมวลผลกลางไปยังอุปกรณ์อื่นๆ เช่น หน่วยความจำหลัก อุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ บัส เปรียบเสมือนช่องทางจราจรที่ยิ่งมีมากก็ยิ่งระบาย ได้มากและหมดเร็ว ซึ่งหน่วยประมวลผลกลางจะมี บัสต่างๆ ดังนี้

11 โครงสร้างของบัส

12

13 การทำงานของระบบบัสพื้นฐาน
1. บัสรองรับข้อมูล/บัสตำแหน่ง/บัสที่อยู่ (ADDRESS BUS) คือ บัสที่ตัวซีพียู เลือกว่าจะส่ง ข้อมูลหรือรับข้อมูลจากอุปกรณ์ไหนไปที่ใด โดยจะ ส่งสัญญาณออกมาทาง Address bus โดยจะทำ การกำหนดตำแหน่งหน่วยความจำบน Address bus ที่เรียกว่า หมายเลข Address

14 การทำงานของระบบบัสพื้นฐาน
2.บัสข้อมูล (Data bus)เป็นบัสที่หน่วยประมวลผล กลาง(CPU) ใช้เป็นเส้นทางผ่านและควบคุมการส่ง ถ่ายข้อมูลจากหน่วยประมวลผลกลางไปยังอุปกรณ์ ภายนอก หรือรับข้อมูลจากอุปกรณ์ภายนอกเข้ามา ทำการประมวลผลที่หน่วยประมวลผลกลาง โดย การส่งข้อมูลจะส่งไปยังตำแหน่งที่ระบุโดย Address Bus

15 การทำงานของระบบบัสพื้นฐาน
3.บัสควบคุม (CONTROL BUS) เป็นบัสที่รับ สัญญาณการควบคุมจากตัวซีพียู เพื่อบังคับว่า จะอ่านข้อมูลเข้ามา หรือจะส่งข้อมูลออกไป จากตัวซีพียู โดยระบบภายนอกจะตอบรับต่อ สัญญาณควบคุมนั้น

16 ระบบ BUS ระบบ BUS ทางกายภาพ คือสายทองแดงที่วางตัวอยู่บน แผงวงจรของเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมโยงกับอุปกรณ์ต่างๆ ความกว้างของระบบบัส จะนับขนาดข้อมูลที่วิ่งอยู่โดยจะมี หน่วยเป็น บิต (BIT) บนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ บัสจะมี ความกว้างหลายขนาด ขึ้นอยู่กับรุ่นของเครื่องพีซี เช่น บัส ขนาด 8 บิต 16 บิต และ 32 บิต โดยปัจจุบันจะกว้าง 16 บิต บัสยิ่งกว้างจะทำให้การส่งถ่ายข้อมูลจะทำได้ครั้งละมากๆ จะมี ผลทำให้คอมพิวเตอร์เครื่องนั้นทำงานได้เร็วตามไปด้วย

17 สถาปัตยกรรมของระบบบัส

18 1. ระบบบัสแบบ พีซีไอ (PERIPHERAL COMPONENT INTERCONNECT : PCI)
ระบบบัสแบบนี้ มีชิปเซตเป็นตัวควบคุมโดยเฉพาะ ทำให้มี ความเร็วในการติดต่อกับอุปกรณ์ต่างๆได้สูงขึ้น เป็นบัสแบบ 32 บิต จึงมีความเร็วในการรับส่งข้อมูลเท่ากับ 133 MB/วินาที ซึ่ง ระบบบัสนี้จะใช้เชื่อมต่อกับสล็อต PCI ซึ่งเป็นช่องใส่อุปกรณ์ ได้แก่ การ์ดเสียง โมเด็ม และการ์ดแลน

19 ระบบบัสแบบ PCI

20 ตัวอย่าง การ์ดเสียง

21 ตัวอย่าง การ์ดแลน

22 ตัวอย่าง โมเด็ม

23 2. ระบบบัสแบบเอพีจี (Accelerated Graphic Port: AGP)
เป็นระบบบัสความเร็วสูง พัฒนานำมาใช้กับการ์ดแสดงผล เพื่อรองรับงานสื่อ ประสม ซึ่งบัสชนิดนี้จะเชื่อมต่ออยู่กับสล็อต APG สำหรับการ์ดแสดงผล โดยเฉพาะ

24 การ์ดจอ

25 3. ระบบบัสแบบพีซีไอเอกเพรส (Peripheral Component Interconnect Express : PCI Express)
เนื่องจากความต้องการอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่มีความเร็วในการรับส่งข้อมูลที่ สูงขึ้น และระบบบัสแบบ PCI และ AGP ไม่สามารถสนองตอบต่อความ ต้องการอย่างเต็มที่ เนื่องจาก PCI มีความเร็วที่ต่ำไป ส่วน AGP ใช้ได้กับ สล็อตการ์ดแสดงผลเพียงอย่างเดียวและมีได้ 1 สล็อตเท่านั้นจึงได้มีการพัฒนา ระบบบัสแบบใหม่ คือ PCI Express ขึ้นมา ซึ้งเป็นบัสที่มีความเร็วสูงและมี อัตรารับ-ส่งข้อมูลสูง

26

27 Assignment ^.^ จงบอกการทำงานของระบบบัสพื้นฐาน ประกอบด้วยอะไรบ้าง และนักเรียนจะนำความรู้ เรื่องบัสไปใช้ประโยชน์ในเรื่องใดบ้าง ส่งงานที่ ตั้งชื่อเรื่องว่า work02_412 ตามด้วยเลขที่ และ


ดาวน์โหลด ppt แผงวงจรหลักและการรับส่งข้อมูล (Bus)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google