1. เลนส์นูน เป็นเลนส์ที่ผิวโค้งตรง กลางหนากว่าบริเวณขอบ 2

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Center of Mass and Center of gravity
Advertisements

อยู่ใกล้กันมากขึ้นและมีความบางของวงมากขึ้น B)
ทราบนิยามของ Flux และ Electric Flux Density
Coulomb’s Law and Electric Field Intensity
การเขียนหุ่นนิ่งทั่วไป
ประเภทของข้อมูล Excel 2007
ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
Crystal Ball ID.58 วิศรุต พรศรีเมตต์
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ไฟฟ้าสถิตย์ Electrostatics.
ทัศนศาสตร์(Optics) วิชาศึกษาธรรมชาติแสงและการมองเห็น.
แสงและการมองเห็น ผู้จัดทำ นางเฉลิมศรี เปียปาน.
บทที่ 4 ระบบทางทัศนศาสตร์พื้นฐาน
ตาและการมองเห็น กระจกตา - โฟกัสภาพ - ระยะโฟกัสคงที่ เลนส์ตา - โฟกัสภาพ
=> Co= 299,792.5 km/s ( สุญญากาศ)
สเฟียโรมิเตอร์(Spherometer)
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ส่วนที่ 1
Points, Lines and Planes
การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน
พลังงานศักย์ของระบบมีค่าเปลี่ยนแปลงตามข้อใด?
เส้นประจุขนาดอนันต์อยู่ในลักษณะดังรูป
ช่วงความชัดลึกของภาพ ภาพจะมีช่วงความชัดลึกมากหรือ น้อยขึ้นอยู่กับเหตุผล 3 ประการ คือ.
Chapter 5 การประยุกต์ของ อินทิกรัล Applications of Integrals.
อนุพันธ์อันดับหนึ่ง ( First Derivative )
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
Quadratic Functions and Models
เลนส์.
2. เลนส์ปกติ หรือเลนส์มาตรฐาน (Normal lens or Standard lens)
3. ขึ้นอยู่กับระยะทางจากวัตถุถึงตัวกล้อง
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
เลนส์นูน.
การแจกแจงปกติ ครูสหรัฐ สีมานนท์.
ผลิตโดย นางศรีไพ จิตอารี โรงเรียนเมืองแงง อำเภอปัว จังหวัดน่าน
ผลิตโดย นางศรีไพ จิตอารี โรงเรียนเมืองแงง อำเภอปัว จังหวัดน่าน
ผลิตโดย นางศรีไพ จิตอารี โรงเรียนเมืองแงง อำเภอปัว จังหวัดน่าน
เ ฮี ย น ฟิ สิ ก ส์ โ ต ย ค รู โ อ๊ บ
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
รวมสูตรเกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตร
โดย ครูเพ็ญนภา ทองนุ่ม
การมองเห็น และความผิดปกติของตา
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
ภาพฉายหลายมุมมอง (Multiview Projection )
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
วงรี ( Ellipse).
การภาพจากการสะท้อนแสงของผิวโค้ง
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
กล้องโทรทรรศน์.
การสะท้อนแสงบนกระจกเงา
การสะท้อนแสงของผิวโค้ง
ภาพที่เกิดจากเลนส์นูน
การหักเหของแสง (Refraction)
แสง การมองเห็น และทัศนอุปกรณ์
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
บทนิยาม ไฮเพอร์โบลา คือ เซตของจุดบนระนาบ ซึ่งผลต่างของระยะทางจุดเหล่านี้ไปยังจุดคงที่สองจุดบนระนาบ มีค่าคงตัวซึ่งมากกว่าศูนย์ แต่น้อยกว่าระยะห่างระหว่างจุดคงที่สองจุดนั้น.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
การหักเหของแสงในตัวกลางต่างชนิดกัน
ผลงานโดย 1. นางสาวกนกนันทน์ สารสมัคร
นางสาวจุไรรัตน์ เพิ่มสุข
การหักเหแสงของเลนส์นูนกับเลนส์เว้า
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
ระยะห่างระหว่างจุดสองจุด
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
แบบทดสอบชุดที่ 1 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
ทรงกลม.
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
เฉลยแบบฝึกหัด เมื่อ จะได้ว่า ดังนั้น ค่าวิกฤต คือ.
พาราโบลา (Parabola).
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การหักเหของแสงที่ผิวของเลนส์ เลนส์เป็นวัตถุโปร่งใสที่มีความหนาของผิวไม่เท่ากัน มี 2 แบบ

1. เลนส์นูน เป็นเลนส์ที่ผิวโค้งตรง กลางหนากว่าบริเวณขอบ 2 1. เลนส์นูน เป็นเลนส์ที่ผิวโค้งตรง กลางหนากว่าบริเวณขอบ 2. เลนส์เว้า เป็นเลนส์ที่มีผิวโค้งตรง บางกว้างกว่าบริเวณขอบ

รูปแบบของเลนส์ เลนส์นูน (Convex lens ) เลนส์เว้า (Concave lens )

ชนิดเลนส์นูนแบบต่าง ๆ - เลนส์นูนสองด้าน ( Double Convex Lens) ดังรูปa                                    - เลนส์นูนแกมราบ ( Plano Convex Lens) ดังรูป b  - เลนส์นูนแกมเว้า ( Concavo Convex Lens) ดังรูป c

ชนิดเลนส์เว้าแบบต่าง ๆ   - เลนส์เว้า 2 ด้าน ( Double Concave Lens ) ดังรูป a   - เลนส์เว้าแกมราบ ( Plano Concave Lens) ดังรูป b   - เลนส์เว้าแกมนูน ( Convexo Concave Lens ) ดังรูป c

เมื่อไม่มีเลนส์

ลักษณะส่วนประกอบที่สำคัญของเลนส์ จุดโฟกัส เส้นแกนมุขสำคัญ O OF คือความยาวโฟกัส

เลนส์เว้า เส้นแกนมุขสำคัญ F O F

การคำนวณปริมาณต่างๆ ของเลนส์ ให้ f = ความยาวโฟกัสของเลนส์ การคำนวณปริมาณต่างๆ ของเลนส์ ให้ f = ความยาวโฟกัสของเลนส์ ในกรณีที่เป็นเลนส์นูน ค่า f เป็นบวก ถ้าเป็นเลนส์เว้า f เป็นลบ

S (U) = ระยะวัตถุ S (V )= ระยะภาพเป็น + กรณีภาพจริง

สูตรกำลังขยายของเลนส์

ให้ m = กำลังขยายถ้าภาพจริงกำลัง. ขยายเป็นบวก แต่ถ้าภาพเสมือน ให้ m = กำลังขยายถ้าภาพจริงกำลัง ขยายเป็นบวก แต่ถ้าภาพเสมือน กำลังขยายเป็นลบ I = ขนาดของภาพ O = ขนาดของวัตถุ

S = ระยะภาพเป็น + ในกรณีภาพจริง S = ระยะภาพเป็น + ในกรณีภาพจริง เป็น - ในกรณีภาพเสมือน S = ระยะวัตถุเป็น + เสมอ f = ความยาวโฟกัสเป็น + ในกรณี เลนส์นูน เป็น - ในกรณีเลนส์เว้า