การหักเหของแสงที่ผิวของเลนส์ เลนส์เป็นวัตถุโปร่งใสที่มีความหนาของผิวไม่เท่ากัน มี 2 แบบ
1. เลนส์นูน เป็นเลนส์ที่ผิวโค้งตรง กลางหนากว่าบริเวณขอบ 2 1. เลนส์นูน เป็นเลนส์ที่ผิวโค้งตรง กลางหนากว่าบริเวณขอบ 2. เลนส์เว้า เป็นเลนส์ที่มีผิวโค้งตรง บางกว้างกว่าบริเวณขอบ
รูปแบบของเลนส์ เลนส์นูน (Convex lens ) เลนส์เว้า (Concave lens )
ชนิดเลนส์นูนแบบต่าง ๆ - เลนส์นูนสองด้าน ( Double Convex Lens) ดังรูปa - เลนส์นูนแกมราบ ( Plano Convex Lens) ดังรูป b - เลนส์นูนแกมเว้า ( Concavo Convex Lens) ดังรูป c
ชนิดเลนส์เว้าแบบต่าง ๆ - เลนส์เว้า 2 ด้าน ( Double Concave Lens ) ดังรูป a - เลนส์เว้าแกมราบ ( Plano Concave Lens) ดังรูป b - เลนส์เว้าแกมนูน ( Convexo Concave Lens ) ดังรูป c
เมื่อไม่มีเลนส์
ลักษณะส่วนประกอบที่สำคัญของเลนส์ จุดโฟกัส เส้นแกนมุขสำคัญ O OF คือความยาวโฟกัส
เลนส์เว้า เส้นแกนมุขสำคัญ F O F
การคำนวณปริมาณต่างๆ ของเลนส์ ให้ f = ความยาวโฟกัสของเลนส์ การคำนวณปริมาณต่างๆ ของเลนส์ ให้ f = ความยาวโฟกัสของเลนส์ ในกรณีที่เป็นเลนส์นูน ค่า f เป็นบวก ถ้าเป็นเลนส์เว้า f เป็นลบ
S (U) = ระยะวัตถุ S (V )= ระยะภาพเป็น + กรณีภาพจริง
สูตรกำลังขยายของเลนส์
ให้ m = กำลังขยายถ้าภาพจริงกำลัง. ขยายเป็นบวก แต่ถ้าภาพเสมือน ให้ m = กำลังขยายถ้าภาพจริงกำลัง ขยายเป็นบวก แต่ถ้าภาพเสมือน กำลังขยายเป็นลบ I = ขนาดของภาพ O = ขนาดของวัตถุ
S = ระยะภาพเป็น + ในกรณีภาพจริง S = ระยะภาพเป็น + ในกรณีภาพจริง เป็น - ในกรณีภาพเสมือน S = ระยะวัตถุเป็น + เสมอ f = ความยาวโฟกัสเป็น + ในกรณี เลนส์นูน เป็น - ในกรณีเลนส์เว้า