เรื่องน่ารู้จากพระไตรปิฎก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
Advertisements

ศาสนพิธี.
นายสำเริง นวลปาน ตำแหน่งประธานกรรมการ นายสุเทพ เทพบุรี ตำแหน่งกรรมการ
โดย นายสุนทร พุกสุข สพป ปทุมธานี เขต 1
ศาสนพิธี และวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
พระไตรปิฎก.
สื่อประกอบการเรียนรู้
ความเชื่อในพระพุทธศาสนา ในทองถิ่นที่ดีต่อสุขภาพกาย
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ลักษณะของพุทธศาสนานิกายเถรวาท
พระพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์และสยามวงศ์สมัยอยุธยา
สอนโดย อาจารย์ขวัญตา จั่นอิ๊ด โทร
กระบวนการฝึกวิธีคิด แบบโยนิโสมนสิการ
พุทธประวัติ.
พันจ่านักเรียน รุ่นที่ ๓/๕๖ พื้นที่ พุทธมณฑล
โรงเรียนบางบ่อวิทยาคม
History มหาจุฬาฯ.
ภูมิปัญญาทางภาษา มีภูมิปัญญาไทยแฝงตัวอยู่มากมาย ทั้งการดำเนินชีวิต
๒.๒.๒ ลักษณะและคำสอนสำคัญ ๑) ลักษณะสำคัญของพระพุทธศาสนา ปัญญา
วิธีการแสวงหาโมกขธรรม ของพระพุทธเจ้า
พระพุทธรูปประจำ ๙ รัชกาล
นักเรียนช่วงชั้นที่ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๒
นักเรียนช่วงชั้นที่ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๒
นักเรียนช่วงชั้นที่ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๒
ชาวพุทธตัวอย่าง พระเจ้าอโศกมหาราช ประวัติเบื้องต้น
ศูนย์สื่อการสอนพระพุทธศาสนา สำนักสงฆ์สวนวาง
กรรมคืออะไร ?, มีจริงหรือไม่ ?
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
Download ใน หรือ
ศาสนพิธี สำหรับชาวพุทธ.
ยุคสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น
สังคมศึกษา ศาสา และวัฒนธรรม จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดย
ต่อชุมชนและประเทศชาติ ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
การพัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102 ผู้สอน….ครูธีระพล เข่งวา
การเขียนรายงาน.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส๓๓๑๐๑ สอนโดย...ครูธีระพล เข่งวา
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
พระเวสสันดรชาดก.
ศาสนาในประเทศไทย.
การปฏิบัติตนต่อพระสงฆ์
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
นางพรพรรณ สนทอง โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
พระพุทธศาสนาสมัยสุโขทัย
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
เรื่อง มงคล ๓๘ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนวังไกลกังวล
วรรณคดีสมัย กรุงรัตนโกสินทร์.
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
คำศัพท์ทางพระพุทธศาสนา
ครูธีระพล เข่งวา 1 ครูผู้สอน …… นายธีระ พล เข่งวา โรงเรียนวังไกล กังวล ครูธีระพล เข่งวา.
วรรณคดีสำคัญในสมัยอยุธยาตอนกลาง
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
ความสำคัญ และ คุณค่า ของวรรณกรรม.
พระพุทธศาสนากับการจัดระเบียบสังคม
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
พระสงฆ์กับการเมืองไทยในปัจจุบัน
พระไตรปิฎก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ เรื่อง
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
การขับเคลื่อน ศูนย์เผยแผ่พระพุทธศาสนาจังหวัด
ครูศรีวรรณ ปานสง่า สถาบันทาง สังคม ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
การศึกษาเพื่อสืบสวนหา ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับความเป็นมาของ สิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือเหตุการณ์ใด เหตุการณ์หนึ่ง จากหลักฐานที่ได้มี บันทึกเก็บไว้ หรือประสบการณ์จากผู้รู้
วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส๓๓๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
สังคมศึกษา เรื่อง ศาสนา
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่องน่ารู้จากพระไตรปิฎก ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม เรื่องน่ารู้จากพระไตรปิฎก ครูศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง อธิบายเรื่องน่ารู้จากพระไตรปิฎกนำข้อคิดที่ได้ ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้

พระไตรปิฎก เป็นที่รวบรวมคำสอนในพระพุทธศาสนาที่จัดเป็นหมวดหมู่แล้ว โดยนัยนี้ ไตรปิฎกจึงแปลว่า คัมภีร์ที่บรรจุพุทธพจน์ ( และเรื่องราวชั้นเดิมของพระพุทธศาสนา ) ๓ ชุด หรือ ประ มวลแห่งคัมภีร์ที่รวบรวมพระธรรมวินัย ๓ หมวด กล่าวคือ วินัยปิฎก สุตตันตปิฎก และอภิธรรมปิฎก

ในสมัยพระพุทธเจ้า เรียกว่า พรหมจรรย์ จดจำกันมาโดยวิธีมุขปาฐะ(ปากเปล่า) พระไตรปิฎก ในสมัยพระพุทธเจ้า เรียกว่า พรหมจรรย์ จดจำกันมาโดยวิธีมุขปาฐะ(ปากเปล่า)

หลังปรินิพพาน เรียกว่า พระธรรมวินัย พระไตรปิฎก หลังปรินิพพาน เรียกว่า พระธรรมวินัย พระสงฆ์จึงจัดให้มีการสังคายนารวบรวม หลักคำสอนเป็นหมวดหมู่และจารึกเป็น ลายลักษณ์อักษรภาษาบาลีลงในใบลาน

โดยพระรักขิตมหาเถระเป็นประธาน ทำการ พระไตรปิฎก โดยพระรักขิตมหาเถระเป็นประธาน ทำการ สังคายนาที่ประเทศศรีลังกาในพุทธศตวรรษ ที่ 5(พ.ศ.450) แต่นั้นจึงเรียนว่า พระไตรปิฎก

ในประเทศไทย ได้พิมพ์เป็นภาษาบาลี อักษรไทยเป็นครั้งแรก ในสมัยรัชกาลที่ ๕ เมื่อพ.ศ. ๒๔๓๑

สมัยรัชกาลที่ ๘ ได้เริ่มแปลจากภาษาบาลี เป็นภาษาไทย

แปลสำเร็จในสมัยรัชกาลที่ ๙ ได้พิมพ์เป็น ครั้งแรกในงานฉลอง ๒๕ พุทธศตวรรษ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๐

เรื่องน่ารู้จากพระไตรปิฎก พระสุตตันตปิฎก มีเนื้อหาเป็นพระธรรม ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงแก่บุคคลในเหตุการณ์ และสถานที่ต่างๆ

เรื่องน่ารู้จากพระไตรปิฎก พระไตรปิฎกภาษาไทยฉบับหลวงพ.ศ.๒๕๒๕เล่ม ๑๔ จูฬกัมมวิภังคสูตร พระไตรปิฎกภาษาไทยฉบับหลวงพ.ศ.๒๕๒๕เล่ม ๑๔

ว่าด้วยกรรมของสรรพสัตว์จาก อดีตชาติที่ส่งผลมาถึงปัจจุบัน จูฬกัมมวิภังคสูตร ว่าด้วยกรรมของสรรพสัตว์จาก อดีตชาติที่ส่งผลมาถึงปัจจุบัน

พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย พระไตรปิฎก เล่มที่ 14 อุปริปัณณาสก์ จูฬกัมมวิภังคสูตร วิภังคสูตรข้อที่ 35 พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย พระไตรปิฎก เล่มที่ 14 อุปริปัณณาสก์

จูฬกัมมวิภังคสูตร ณ เชตวนาราม

ผลร้ายผลดี 7 คู่ เนื่องมาจากกรรม คือการกระทำของ สัตว์ จูฬกัมมวิภังคสูตร ผลร้ายผลดี 7 คู่ เนื่องมาจากกรรม คือการกระทำของ สัตว์

มีอายุน้อย ฆ่าสัตว์ มีอายุยืน ไม่ฆ่าสัตว์

มีโรคมาก เบียดเบียนสัตว์ มีโรคน้อย ไม่เบียดเบียนสัตว์

มีโภคทรัพย์น้อย ไม่ให้ทาน มีโภคทรัพย์มาก ให้ทาน

มีผิวพรรณทราม ขี้โกรธ มีผิวพรรณดี ไม่ขี้โกรธ

มีศักดาน้อย มักริษยา มีศักดามาก ไม่มักริษยา

เกิดในตระกูลต่ำ กระด้างถือตัว ไม่อ่อนน้อม เกิดในตระกูลสุง ไม่กระด้างถือตัว แต่รู้จักอ่อนน้อม

มีปัญญาทราม ไม่เข้าไปหาสมณพราหมณ์ ไต่ถามเรื่องกุศล อกุศล ปัญญาดี เข้าไปหาสมณพราหมณ์ ไต่ถามเรื่องกุศล อกุศล