จักรยาน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จดหมายกิจธุระ.
Advertisements


สื่อความรู้เพื่อการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
การใส่กรอบให้ข้อความ ใน Word ๒๐๑๐
ระบบ เสียง ในภาษาไทย เสียง เกิดจากลมที่เคลื่อนตัวจากปอดผ่านหลอดลม ลำคอ กล่องเสียง ช่องปาก จมูก เพดาน ลิ้น ฟัน ริมฝีปาก.
CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI
นางสาวดวงเดือน สร้อยจิตร สำนักงานเขตบางคอแหลม
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน ๑๐ ข้อ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
เรื่องความรู้ทางภาษา
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ตา
บุญ.
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง แผนดำเนินงานด้านวัฒนธรรมภายใต้แผนปรองดองแห่งชาติ ของกระทรวงวัฒนธรรม นายวีระ โรจน์พจน์รัตน์ ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม วันจันทร์ที่
ความเชื่อในพระพุทธศาสนา ในทองถิ่นที่ดีต่อสุขภาพกาย
การเพิ่มคำ.
ตัวเลขไทย.
ขอแสดงความยินดีกับโรงพยาบาลที่เข้ารับประทานเกียรติบัตร โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ จาก พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายา.
การยิงสลุตหลวง.....โดยกอง รปภ.ฐท.กท.
ระบบสืบค้นหนังสือห้องสมุดคลังความรู้
คำนาม.
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพการศึกษา
ความสำเร็จของศิษย์เก่า รุ่นที่ ๓
รายละเอียดของรายวิชา
การเขียนรายงานสถานการณ์ การเฝ้าระวังและเตือนภัย ทางสังคม
การอ่านคำภาษาสันสกฤตที่เขียนด้วยอักษรไทย
การนำนโยบายและแนวปฏิบัติ การรับนักเรียนสู่การปฏิบัติ
วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนวชิรป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน
นักเรียนช่วงชั้นที่ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๒
วิชาเลือกเสรี เรื่องภาษาไทย
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ความรู้เรื่องเสียงในภาษา
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ

๓. พยัญชนะท้ายพยางค์ แม่ กด
๖.พยัญชนะท้ายพยางค์ มาตรากบ หรือแม่กบ.
๒.พยัญชนะท้ายพยางค์“แม่กก”
๔.พยัญชนะท้ายพยางค์“แม่กน”
เรื่อง คำที่ใช้ รร ( ร หัน)
อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ แก้ไขอย่างไรดี
จัดทำโดย. ๑. ด. ช. ภวัต ผจงเกียรติคุณ ชั้นป. ๕/๘. เลขที่ ๒๑. ๒. ด. ช
คำบุพบท เป็นคำที่เขียนนำหน้าคำนาม คำสรรพนาม คำกริยา คำวิเศษณ์
ภาษาบาลี-ภาษาสันสกฤต
รสวรรณกรรมสันสกฤต ๙ รส.
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
หน่วยที่ ๙ การเขียนโครงการ
๙. เปรียบเทียบข้อมูลที่สรุป (ก.๗-๐๐๓ หน้า ๘)
ข้อสังเกตคำบาลีและสันสกฤต
คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ ( ภาษาบาลี - ภาษาสันสกฤต )
ตามอาตมาไปอ่านภาษาบาลีกัน
คำภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย
๑.นางสาววิมุตตรีศักดิ์สกุลไกร เลขที่ ๘ ๒.นางสาวกชรัตน์นันทเสน เลขที่ ๑๕ ๓.นางสาวสุวภัทรธูปหอม เลขที่ ๑๗ ๔.นางสาวชญานิศวิจารณ์ เลขที่ ๒๐ ๕.นายภูมิภัทรกลิ่นหอม.
รสวรรณคดี คุณครูมลิวัลย์ สินธุบุญ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชนิดของคำ คำอุทาน ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ
โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 97 (บ้านบางบอน) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาระนอง
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
ประโยคในการสื่อสาร จัดทำโดย ด.ช. อนันต์ ผลทับทิม เลขที่ ๔๓
ด.ช.ธิติวุฒิ ปั้นจาด ชั้น ป. ๕/๘ เลขที่ ๔๖
แผนการจัดการเรียนรู้
คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
เริ่มต้น เกม 4 ตัวเลือก โดย นายจำลอง ศรีอุทัย.
๖. การเยี่ยมเยียน การ เรียนรู้ นิเทศ ติดตาม ๗. มีระบบสนับสนุน ๘. ระบบการส่งต่อ ๙. ระบบสารสนเทศ เก็บ รวบรวมข้อมูล ปรับปรุงข้อมูล ๑๐. นำไปสู่การปฏิบัติ
โดย... คณะกรรมการวิชาการเสริมหลักสูตร วันพุธบ่ายสำหรับนักศึกษาแพทย์
หน่วยที่ ๔ การเขียนรายงาน
สื่อเสริมความรู้เรื่อง คำ ร หัน (รร)
หน่วยที่ ๗ การโฆษณา ความหมายของการโฆษณา
ที่มาของคำราชาศัพท์ มาจากคำไทย+ภาษาต่างประเทศ บาลี,สันสกฤต,เขมร
การขับเคลื่อน ศูนย์เผยแผ่พระพุทธศาสนาจังหวัด
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จักรยาน

วีรบุรุษ

มัจจุราช

คำสมาส จัดทำโดย ครูวรพงษ์ ปัญญาชื่น

ความหมายของคำสมาส คำสมาส คือ คำที่เกิดจากการนำคำในภาษาบาลีและสันสกฤตมารวมเข้าด้วยกัน เพื่อทำให้เกิดคำใหม่ ที่มีความหมายใหม่ โดยยังมีเค้าของความหมายเดิมอยู่

หลักการสังเกต ๑. เกิดจากคำมูลตั้งแต่สองคำขึ้นไป ๒. เป็นคำที่มีรากศัพท์มาจากภาษาบาลีและ สันสกฤตเท่านั้น เช่น กาฬพักตร์ ภูมิศาสตร์ ราชธรรม บุตรทาน อรรถคดี ฯลฯ ๓. พยางค์สุดท้ายของคำหน้า หากมีสระ อะ หรือมี ตัวการันต์อยู่ ให้ยุบตัวนั้นออก (ยกเว้นคำบางคำ เช่น กิจจะลักษณะ เป็นต้น)

หลักการสังเกต(ต่อ) ๔. แปลความจากหลังมาหน้า เช่น ราชบุตร แปลว่า บุตรของ พระราชา ๕. ส่วนมากออกเสียงพยางค์ท้ายของคำหน้า แม้จะไม่มีรูปสระกำกับ อยู่ โดยจะใช้เสียง อะ อิ และ อุ (เช่น เทพบุตร) แต่บางคำก็ไม่ออก เสียง (เช่น สมัยนิยม สมุทรปราการ) ๖. คำบาลีสันสกฤตที่มีคำว่า พระ ซึ่งกลายเสียงมาจากบาลีสันสกฤต ก็ถือว่าเป็นคำสมาส (เช่น พระกร พระจันทร์)

๗. ส่วนใหญ่จะลงท้ายว่า ศาสตร์ กรรม ภาพ ภัย ศึกษา ศิลป์ วิทยา ๘. อ่านออกเสียงระหว่างคำ เช่น ประวัติศาสตร์ อ่านว่า ประ – หวัด – ติ – ศาสตร์ ไทยธรรม อ่านว่า ไทย – ยะ – ทำ อรรถรส อ่านว่า อัด – ถะ – รด

คลิกเลือกข้อที่ต้องการได้เลยครับ แบบทดสอบ ๑. ข้อใดเป็นคำสมาส ก. วรรณกรรม ข. คณาจารย์ ค. สิงหาคม ง.เทพารักษ์ คลิกเลือกข้อที่ต้องการได้เลยครับ

ถูกต้องนะครับ กดปุ่มนี้นะครับ

ผิดนะครับ กดปุ่มนี้นะครับ

๒. ข้อใดเป็นคำสมาสทั้ง ๒ คำ ก.กระจุ๋มกระจิ๋ม นโยบาย ข.กายกรรม พลศึกษา ค.อดีตกาล สังหรณ์ ง.สุโขทัย มิถุนายน คลิกเลือกข้อที่ต้องการได้เลยครับ

ถูกต้องนะครับ กดปุ่มนี้ครับ

กดปุ่มนี้นะครับ

๓.ข้อใดเป็นคำสมาสทั้งหมด ก.มโนภาพ รโหฐาน ข.สมาคม สงสาร ค.สมาทาน สุริโยทัย ง.ธุรกิจ กรรมกร คลิกเลือกข้อที่ต้องการได้เลยครับ

กดปุ่มนี้นะครับ

อยู่ โดยจะใช้เสียง อะ อิ และ อุ ๓.แปลความจากหลังมาหน้าส่วนมากออกเสียงพยางค์ท้ายของคำหน้า แม้จะไม่มีรูปสระกำกับ อยู่ โดยจะใช้เสียง อะ อิ และ อุ ๑.เป็นคำมูลสองคำขึ้นไปที่มีรากศัพท์คำบาลีสันสกฤต สรุปหลักการสังเกตคำสมาส ๔. ส่วนใหญ่จะลงท้ายว่า ศาสตร์ กรรม ภาพ ภัย ศึกษา ศิลป์ วิทยา ๒.พยางค์สุดท้ายของคำหน้า หากมีสระ อะ หรือมี ตัวการันต์อยู่ ให้ยุบตัวนั้นออก ๕. อ่านออกเสียงระหว่างคำ เช่น ประวัติศาสตร์ อ่านว่า ประ – หวัด – ติ – ศาสตร์