ความพร้อมในการเรียนด้วยอีเลิร์นนิ่ง ของนักศึกษาพยาบาลระดับปริญญาเอก The e-Learning Readiness of PhD. Nursing Students ดร. เจือจันทน์ วัฒกีเจริญ มหาวิทยาลัย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นางพัชราภรณ์ หงษ์สิบสอง และผู้ช่วยศาสตราจารย์นันทา เติมสมบัติถาวร
Advertisements

การศึกษาความรู้ทางคณิตศาสตร์ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนการสอนของนิสิตนักศึกษาครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ วิชาเอกคณิตศาสตร์
ยินดีต้อนรับสู่การอบรม ณ โรงเรียนสุรนารีวิทยา
การวิจัยและพัฒนาผู้เรียนด้วย E-Learning
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การพัฒนาสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์โดยครูต้นแบบ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมการศึกษา ดร
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
การออกแบบและการประยุกต์ใช้ หลักสูตรเว็บออนไลน์ เพื่อการเรียนรู้ทางไกล On the Design and Application of an Online Web Course for Distance Learning.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
ความคิดเห็นที่มีต่อการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของ บุคลากรวิทยาลัยเทคโนโลยี ฐานเทคโนโลยี บรรยวัสถ์ สินทรัพย์
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
LOGO ศึกษาการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศของบุคลากร ในวิทยาลัยเทคนิคหนองคาย A study to used information technology of personnel at Nongkhai.
การสร้างเครื่องมือและรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำผลงานทางวิชาการ
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ผู้วิจัย : ว่าที่ร้อยโทนรินทร์ ดารุณศิลป์
นางสาว ธันยพัต ภักดี วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการจรัลสนิทวงศ์
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมประยุกต์ทางคอมพิวเตอร์ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
ชื่อเรื่อง แรงจูงใจของนักศึกษาในการเลือกเรียนหลักสูตรปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจบัณฑิต ผู้วิจัย นางสาวณัฐกานต์ ภูแฝก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิจัยประเภทการเรียนการสอน
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การศึกษาเจตคติต่อวิชาการเลขานุการ
ชื่อผู้วิจัย : นางสาวพรธนา ช่วยตั้ง
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเจ้าพระยา
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
เรื่อง การใช้เกมพัฒนาทักษะการเขียนคำภาษาไทย ของนักเรียนระดับชั้น ปวช
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นางสาวเบญริสา ทองจำรูญ วิทยาลัยเทคโนโลยีจรัลสนิทวงศ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
นางสาวสุภาภักดิ์ แก้วศรีมล วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
การใช้กิจกรรมกลุ่มเกมแข่งขันเพื่อส่งเสริมความรู้ด้านไวยากรณ์และความสามารถด้านการเขียนภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่
นางสาวถนอมนวล ฐาปนพงษ์ไพบูลย์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
นางดวงพร อินทจักร วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จ.ลำพูน
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร

ชื่อผู้วิจัย ประชิด เกิดมาก
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา การวิเคราะห์ ออกแบบระบบ ปวส.2/2และปวส.2/2 พิเศษสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา.
ชื่อผลงานวิจัย การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองใน การบริหารวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นายรัตนวุธ บุญเทียบ.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการสร้างเว็บเพจ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย ที่ได้รับการสอนแบบ.
นางสาวเกสรา ฉายารัตน์
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความพร้อมในการเรียนด้วยอีเลิร์นนิ่ง ของนักศึกษาพยาบาลระดับปริญญาเอก The e-Learning Readiness of PhD. Nursing Students ดร. เจือจันทน์ วัฒกีเจริญ มหาวิทยาลัย คริสเตียน รศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ  

ปัญหาวิจัย การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บได้มีเพิ่มขึ้นอย่างมากในสถาบันอุดมศึกษา โดยเฉพาะในส่วนของการศึกษาของพยาบาลที่มีการใช้อีเลิร์นนิ่งเข้ามาช่วยในการเรียนการสอนในช่วงหลายปีที่ผ่านมา (Barker, K. and others, 2013) เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนการสอนส่งเสริมให้นักศึกษาพยาบาลได้เกิดการเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา มหาวิทยาลัยคริสเตียนได้จัดเตรียมระบบอีเลิร์นนิ่งให้กับนักศึกษาได้เรียนรู้ด้วยตนเองเป็นสื่อเสริม ซึ่งนักศึกษาเองก็ต้องมีความพร้อมในการที่จะเรียนรู้จากอีเลิร์นนิ่ง การวิจัยครั้งนี้จะช่วยให้ทราบว่านักศึกษาพยาบาลระดับปริญญาเอกมีความพร้อมด้านใดที่จะเรียนรู้ด้วยอีเลิร์นนิ่ง

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1 เพื่อศึกษาความพร้อมในการเรียนด้วยอีเลิร์นนิ่ง ของนักศึกษาพยาบาลระดับปริญญาเอกมหาวิทยาลัย คริสเตียน 2 เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความพร้อมในการเรียนด้วยอีเลิร์นนิ่งของนักศึกษาพยาบาลระดับปริญญาเอกต่างชั้นปี ต่างอายุ ต่างเพศและต่างประสบการณ์การใช้คอมพิวเตอร์

การทบทวนวรรณกรรม สิ่งหนึ่งที่หน่วยงานทางการศึกษาจะต้องให้คำสำคัญคือ ความพร้อมของนักศึกษาในการเรียนรู้ผ่านสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเป็นกระบวนการแรกที่จะต้องทำความเข้าใจผู้เรียน การประเมินความพร้อมของผู้เข้าสู่ระบบอีเลิร์นนิ่งเป็นสิ่งที่จำเป็น (Aydin and Tasci, 2005) มีปัจจัยหลายประการที่ส่งผลสนับสนุนการเรียนด้วยอีเลิร์นนิ่งเช่น ปัจจัยสำคัญของความพร้อมทางด้านอีเลิร์นนิ่งก็คือ การเตรียมความพร้อมให้นักเรียน , การเตรียมความพร้อมให้กับครู, โครงสร้างพื้นฐานทางด้านไอที, การสนับสนุนจากฝ่ายบริหาร, วัฒนธรรมโรงเรียน และความชอบที่จะพบกันแบบเห็นหน้า (So and Swatman, 2006) สิ่งสำคัญก่อนที่จะส่งนักศึกษาเข้าเรียนรู้ด้วยตนเองในระบบอีเลิร์นนิ่งคือ ความพร้อมที่จะเข้าไปเรียนรู้และใช้ประโยชน์ ถ้านักศึกษาขาดความพร้อมก็จะทำให้การเรียนรู้ของนักศึกษาไม่ประสบความสำเร็จ

สมมุติฐานการวิจัย นักศึกษาพยาบาลระดับปริญญาเอกที่เรียน ต่างชั้นปี ต่างอายุ ต่างเพศ และต่างประสบการณ์การใช้คอมพิวเตอร์จะมีความ พร้อมในการเรียนด้วยอีเลิร์นนิ่ง แตกต่างกัน

กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างคือนักศึกษาพยาบาลระดับปริญญาเอก จำนวน 16 คนทุกชั้นปี ปีการศึกษา 2556 ใน 6 ชั้นปีจำนวนทั้งสิ้น 16 คนได้แก่ นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 1 จำนวน 9 คน นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 จำนวน 4 คน นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3-6 จำนวน 3 คน

เครื่องมือ แบบประเมินความพร้อมในการเรียนด้วยอีเลิร์นนิ่ง (Watkins, Leigh and Triner, 2004)โดยวัดระดับความพร้อมใน 6 ด้านจำนวน 27 ข้อ ได้แก่ ด้านการเข้าถึงเทคโนโลยี (Technology Access) ด้านความสัมพันธ์และทักษะออนไลน์ (Online skill and relationships) ด้านแรงจูงใจ (Motivation) ด้านภาพและเสียงออนไลน์ (Online Audio/Video) ด้านการอภิปรายบนอินเทอร์เน็ต (Internet Discussions) ด้านสิ่งสำคัญต่อความสำเร็จ (Importance to your success)

ผลการวิจัย

กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 93.75

กลุ่มตัวอย่างอายุระหว่าง 41-60 ปีร้อยละ 75.00 กลุ่มตัวอย่างอายุระหว่าง 41-60 ปีร้อยละ 75.00

กลุ่มตัวอย่างมีประสบการณ์ด้านคอมพิวเตอร์ร้อยละ 81.20 กลุ่มตัวอย่างมีประสบการณ์ด้านคอมพิวเตอร์ร้อยละ 81.20  

นักศึกษาพยาบาลระดับปริญญาเอกชั้นปี1 และปีที่ 3-6 มีค่าคะแนนเฉลี่ยความพร้อมในการเรียนด้วยอีเลิร์นนิ่งในระดับมาก โดยชั้นปีที่2มีระดับคะแนนมากที่สุด

ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพร้อมในการเรียนด้วยอีเลิร์นนิ่งของนักศึกษาพยาบาลระดับปริญญาเอก ทุกชั้นปีอยู่ในระดับมากและมากที่สุด

เปรียบเทียบความพร้อมในการเรียนด้วย อีเลิร์นนิ่งของนักศึกษาพยาบาลระดับปริญญาเอก ต่างชั้นปี ต่างอายุ ต่างเพศ และต่างประสบการณ์การใช้คอมพิวเตอร์มีค่าคะแนนเฉลี่ยความพร้อมในการเรียนด้วย อีเลิร์นนิ่งไม่แตกต่างกัน  

บทสรุป ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่านักศึกษาในระดับปริญญาเอกสาขาการพยาบาลมีความพร้อมในการเรียนด้วยอีเลิร์นนิ่ง มีการยอมรับเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่จะนำเข้ามาใช้ในการเรียนการสอน อีเลิร์นนิ่งเป็นเครื่องมือที่สามารถจะนำมาใช้ได้ดีในระดับบัณฑิตศึกษา แตกต่างจากความเชื่อในอดีตที่นักศึกษาปริญญาเอกที่สูงอายุจะไม่ถนัดในการใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้ ดังนั้นมหาวิทยาลัยควรมีการพัฒนาอีเลิร์นนิ่งเพื่อเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ให้นักศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา อันเนื่องจากมีความพร้อมที่จะเรียนรู้ด้วยตนเองไม่ว่าจะเป็นระดับชั้นใดและสูงอายุหรือไม่ ไม่เป็นอุปสรรคในการเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์อีกต่อไป