การจัดการศึกษา สำหรับบุคคลที่มีความบกพร่องการเรียนรู้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โอกาสและความท้าทาย ของศูนย์เด็กเล็ก และโรงเรียนอนุบาลปลอดโรคในอนาคต
Advertisements

ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
แบบสอบถาม (Questionnaire)
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
พฤติกรรมการสอนคณิตศาสตร์ (Teaching Behavior in Mathematics)
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจกลุ่ม 821
ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา
กิจกรรมส่งเสริมการอ่านในห้องสมุดประชาชน
สภาพและความต้องการของเด็กสถานพินิจเด็กและเยาวชนชาย:ศึกษากรณีบ้านมุทิตา
การออกแบบนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้กระบวนการคิด
กระบวนการของการอธิบาย
กรณีศึกษาของเยาวชนที่กระทำความผิดคดีฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา : สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดสระบุรี ผู้วิจัย โยธิน จารุจุฑารัตน์ หลักสูตร ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต.
หลักสูตร วิทยากรแนว ปฏิบัติ การใช้แรงงานที่ดี (Training of Trainer : TOT) โดย กรวรรณ จงสถาพรพันธ์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบ มาตรฐานแรงงาน 1.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
ชุมชนปลอดภัย.
ร่างกายและสมองของนักเรียน รักษาไว้ให้แข็งแรง
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ประเภทที่ ๑ วิจัยในชั้นเรียน.
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
พื้นฐานการวิจัยและสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมศาสตร์
แนวทางใหม่ในการบริหารงานบุคคล ลูกจ้างประจำเงินรายได้
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
เปิดบ้าน ชื่อโรงเรียน วันที่.
หมวดศึกษาทั่วไป ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ผู้สอน : อ.สำราญ ผลดี
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงาน
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๒ สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๑ หน่วยกิต Dr. Bualak Petchngam.
Operant Behavior (การกระทำทำให้เกิดการเรียนรู้)
Aj.Dr. Bualak Naksongkaew
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
โดย นายอนุชา ศรีเริงหล้า นักอุตุนิยมวิทยาปฏิบัติการ
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
รายวิชา การบริหารการศึกษา
เรียนอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
หัวข้อการเรียน ENL 3701 Week 5
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
แอดมิชชั่น กลาง.
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
เอกสาร/หลักฐาน/ ร่องรอย เพื่อ จัดเก็บใน 13 แฟ้ม
หน่วยที่ 4 การสร้างเครื่องมือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการศึกษา สำหรับบุคคลที่มีความบกพร่องการเรียนรู้ การจัดการศึกษา สำหรับบุคคลที่มีความบกพร่องการเรียนรู้ รองศาสตราจารย์ ดร.ดารณี ศักดิ์ศิริผล ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนาการศึกษาพิเศษ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ rise.swu.ac.th

หลายคำ เด็กที่มีปัญหาในการเรียนรู้ เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ เด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ Learning Disabilities (LD) Learning Difficulty Learning Disorders Specific Learning Disabilities

เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ เด็กที่มีความบกพร่องหรือผิดปกติเกี่ยวกับกระบวนการพื้นฐาน ทางจิตวิทยา ที่แสดงให้เห็นถึงความบกพร่องทางด้านการฟัง การคิด การพูด การอ่าน การเขียน การสะกดคำ และการคิดคำนวณในการ เรียนคณิตศาสตร์

Learning Disabilities Reading Disability (Dyslexia) Mathematics Disorder (Dyscalculia) Written Expression Disorder (Dysgraphia) Nonverbal Learning Disability Reading Difficulties Mathematical Difficulties Visual Spatial Social Difficulties Writing Difficulties Handwriting Difficulties Spelling Difficulties

Learning Disabilities Skill Areas Associated with Learning Disabilities Receptive and Expressive language Auditory/ Phonological Processing Social Skills Study and Organizational Skills Visual Processing Learning Disabilities Visual Motor Processing Metacognition Memory Attention

กระบวนการเรียนรู้ของมนุษย์ การรับรู้ การแสดงออก ภาษา คณิตศาสตร์ การเคลื่อนไหว กระบวนการเรียนรู้ของมนุษย์

ทั้งนี้ไม่ได้เกิดจาก ความบกพร่องทางสติปัญญา ความบกพร่องทางประสาทสัมผัส (การได้ยิน การเห็น การเคลื่อนไหว) ปัญหาทางพฤติกรรม ความแตกต่างทางวัฒนธรรม

เปอร์เซ็นต์ไทล์

สาเหตุของปัญหาทางการเรียนรู้ จำแนกเป็นประเภทใหญ่ๆได้ 3 ประเภทคือ 1. การได้รับบาดเจ็บทางสมอง ทำให้ระบบประสาทส่วนกลางทำงานได้ไม่เต็มที่

2. ปัจจัยทางพันธุกรรม 3. ปัจจัยสิ่งแวดล้อม สภาพแวดล้อมภายในครอบครัว 2. ปัจจัยทางพันธุกรรม 3. ปัจจัยสิ่งแวดล้อม สภาพมลพิษ สภาพแวดล้อมภายในครอบครัว

ลักษณะของเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ ด้านการอ่าน อ่านไม่ออก อ่านตกหล่น อ่านเรียงลำดับคำผิด อ่านสับสนระหว่างอักษรหรือคำที่คล้ายคลึงกัน อ่านเอาเรื่องไม่ได้ ฯลฯ

การประสานงานระหว่างกล้ามเนื้อมือกับสายตาไม่ดี ด้านการเขียน การประสานงานระหว่างกล้ามเนื้อมือกับสายตาไม่ดี บกพร่องของการจำสิ่งที่มองเห็น เขียนอักษรผิดทิศทาง เว้นระยะไม่ถูกต้อง ลายมืออ่านยาก ฯลฯ

จำแนกตัวเลขบางตัวไม่ได้ เช่น 6 - 9 , 17-71 ด้านคณิตศาสตร์ จำแนกตัวเลขบางตัวไม่ได้ เช่น 6 - 9 , 17-71 เขียนตัวเลขจากหลังมาหน้า ขวามาซ้าย มีปัญหาในการลอกรูปทรงและโจทย์ปัญหา ไม่เข้าใจเกี่ยวกับความคิดรวบยอด ฯลฯ

เด็ก LD ส่วนใหญ่พบในระดับชั้นประถมศึกษา ~ 75 % เป็นชายมากกว่าหญิง 3 :1 ระดับสติปัญญาปกติหรือสูงกว่าปกติ ปัญหาทางการอ่านการเขียนจะมีมากกว่าคณิตศาสตร์ รูปร่างหน้าตาเหมือนเด็กปกติ เกิดได้กับทุกชาติทุกภาษา ความสามารถ.....จะต่ำกว่าประมาณสองระดับชั้น

การคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ 1. การคัดแยกอย่างไม่เป็นทางการ วิธีสังเกตพฤติกรรม 2. การคัดแยกอย่างเป็นทางการ แบบทดสอบ ด้านการเรียน ด้านคณิตศาสตร์ ด้านพฤติกรรม

แบบคัดแยกเด็กเล็ก / อนุบาล ศ. ศรียา นิยมธรรม ได้พัฒนาแบบคัดแยกเด็กที่มีปัญหา ทางการเรียนรู้ โดยปรับปรุงจากเครื่องมือของ McCarthy Screening Test ใช้กับเด็กที่มีอายุระหว่าง 4 – 6. 5 ปี ใช้ทดสอบความสามารถของเด็กใน 6 ด้าน แบบคัดแยกเด็กเล็ก / อนุบาล ผลการคัดแยก : เสี่ยง ไม่เสี่ยง

แบบคัดแยกเด็กระดับเด็กเล็ก / อนุบาล รศ. ดร. ดารณี ศักดิ์ศิริผล ใช้สำหรับเด็กอายุ 5 – 6 ปี ใช้ทดสอบความสามารถของเด็กใน 6 ด้าน ทิศทาง การจำจากการฟัง การจำจากการเห็น การเขียน การจัดหมวดหมู่ การเคลื่อนไหว

แบบคัดแยกเด็กระดับประถมศึกษา ศาสตราจารย์ ดร. ผดุง อารยะวิญญู รศ. ดร. ดารณี อุทัยรัตนกิจ และคณะ กระทรวงศึกษาธิการ แบบคัดแยกเด็กระดับประถมศึกษา

ขั้นตอน การคัดแยก 1. ซักประวัติ 3. ประเมินเด็กเป็นรายบุคคล 1. ซักประวัติ 2. คัดแยกโดยใช้แบบคัดแยก 3. ประเมินเด็กเป็นรายบุคคล - การฟัง การพูด - การอ่าน การเขียน - คณิตศาสตร์ - สติปัญญา - อื่นๆ 4. ตัดสินใจจากข้อมูลที่ได้รับ

แนวโน้มการคัดแยกเด็ก วิธี RtI Responsiveness to Intervention

Tier 3 Tier 2 Tier 1

เพราะอะไรต้องช่วยเหลือ

ปัญหาการอ่าน การเขียน ปัญหาการอ่าน การเขียน ขั้นที่ 1 อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ ขั้นที่ 2 อ่านไม่คล่อง เขียนไม่คล่อง ขั้นที่ 3 อ่านแล้วไม่เข้าใจ จับใจความไม่ได้ เขียนเพื่อตอบคำถามไม่ได้ ขั้นที่ 4 อ่านแล้วไม่มีความซาบซึ้ง นำไปใช้ในชีวิตประจำวันไม่ได้ เขียนเพื่อสื่อสารไม่ได้

หลักการใช้ประสาทสัมผัสหลายด้าน การรับรู้สิ่งเร้าต่างๆ เข้าสู่กระบวนการแปลผลข้อมูล และ เก็บเป็นความจำ วิธี VAKT เป็นการใช้ประสาทสัมผัสหลายด้าน ได้แก่ การเห็น (Visual) การได้ยิน (Auditory) การเคลื่อนไหวร่างกาย (Kinesthetic) และการสัมผัสภายนอก (Tactile)

กิจกรรม การเล่าเรื่อง เพลง เกม บทกลอน

P - Lips

การเขียน การใช้สี การใช้สัญลักษณ์

วิธีการสอน เลือกคำที่อ่านไม่ได้/ไม่คล่องออกมาฝึกอ่านก่อน Highlight ด้วยสีต่างๆบนคำที่อ่านไม่ได้ /ไม่คล่อง อ่านด้วยกันกับครู บ้านของกระต่ายป่าอยู่ในโพรงดินกลางสวนมะพร้าว แม่กระต่ายมีลูกสองตัว ตัวหนึ่งสีดำเหมือนสีท้องฟ้ายามค่ำคืน ตัวหนึ่งสีขาวเหมือนปุยฝ้าย แม่กระต่ายรักลูกกระต่ายทั้งสองมาก และสอนให้ลูกๆ ร้องเพลง

ขั้นที่ 3 อ่านแล้วไม่เข้าใจ จับใจความไม่ได้ เขียนเพื่อตอบคำถามไม่ได้ ขั้นที่ 3 อ่านแล้วไม่เข้าใจ จับใจความไม่ได้ เขียนเพื่อตอบคำถามไม่ได้ เพิ่มพูนคำศัพท์ (ค้นหาจากพจนานุกรม ถามครู ถามเพื่อน) ใช้วิธีก้างปลา ใช้แผนผัง

No single reading method will be effective for all students with learning disabilities. Most individuals with learning disabilities will benefit from the application of a variety of methods.

กิจกรรมอื่นๆ 2. เขียนในทราย 3. เขียนบนฝ่ามือ 1. เขียนในอากาศ 2. เขียนในทราย 3. เขียนบนฝ่ามือ 4. เขียนบนแผ่นหลังของกันและกัน 5. เขียนโดยใช้ pointer 6. เอานิ้วลากทับตัวอักษร สระ หรือวรรณยุกต์ต่างๆ

เด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ ปัญหา จำตัวเลขไม่ได้ เขียนตัวเลขไม่ถูกวิธี ไม่เข้าใจค่าของจำนวน ไม่เข้าใจขั้นตอนในการคำนวณ สับสนเกี่ยวกับสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ ไม่เข้าใจโจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฯลฯ

ชุดบวกลบคูณหารผ่านหลักเม็ดนับ CD-ROM คณิตศาสตร์กับหลักเม็ดนับ แสดงจำนวน CD-ROM คณิตศาสตร์กับหลักเม็ดนับ