การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
1. ความหมายของ “การวิจัย”... 1. ความหมายของ “การวิจัย”... การศึกษาค้นคว้ารวบรวม หรือแสวงหา คำตอบหรือข้อเท็จจริงอย่างเป็นระบบหรือ ตามลักษณะวิชา (วิรัช วิรัชนิภาวรรณ) การแสวงหาที่มีระบบ…..มีการใช้หลักเหตุผล เกี่ยวกับเหตุการณ์ เพื่อการตัดสินใจหรือ แก้ไขปัญหาในการบริหาร (ZIKMUND)
1. ความหมายของ “การวิจัย” (ต่อ) 1. ความหมายของ “การวิจัย” (ต่อ) กระบวนการค้นคว้าหาความรู้ความจริง และ รวบรวมความรู้ความจริงนั้นอย่างมีระบบ ดำเนินการวิเคราะห์และตีความหมายข้อมูล โดยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อใช้ประโยชน์ ในการปรับปรุงการปฏิบัติงาน หรือเพื่อก่อให้ เกิดความรู้ใหม่ ๆ และความก้าวหน้าทาง วิชาการ (พะยอม วงษ์สารศรี)
2. ประเภทของ “การวิจัย” แบ่งออกเป็น 2 สาขา 2. ประเภทของ “การวิจัย” แบ่งออกเป็น 2 สาขา 1. แบ่งตามวัตถุประสงค์ที่จะใช้ประโยชน์จาก การวิจัย 2. แบ่งตามวิธีการวิจัย
แบ่งตามวัตถุประสงค์ที่จะใช้ประโยชน์ จากการวิจัย 1) การวิจัยขั้นพื้นฐาน (Basic research) - เพื่อแสวงหาความรู้ - เพื่อให้เกิดความก้าวหน้าทาง วิชาการ 2) การวิจัยประยุกต์ (Applied research) - เพื่อนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์/ แก้ไขปัญหาเฉพาะด้าน
2. แบ่งตามวิธีการวิจัย 1) การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ 2. แบ่งตามวิธีการวิจัย 1) การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ 2) การวิจัยสภาพปัจจุบัน (การวิจัยเชิงบรรยาย) 3) การวิจัยประเภททดลอง
3. คุณลักษณะของการวิจัย 3. คุณลักษณะของการวิจัย 1. เริ่มต้นจากปัญหาของผู้วิจัย 2. ต้องมีแผน 3. ต้องชัดเจน 4. จะดำเนินการกับปัญหาใหญ่ ๆ ด้วยการ จำแนกและวิเคราะห์ผ่านปัญหาย่อย ๆ 5. แสวงหาแนวทางเพื่อให้ได้คำตอบในข้อที่ 1 6. การวิจัยเกี่ยวกับความจริง
4. 10 ขั้นตอนที่สำคัญของการวิจัย… 4. 10 ขั้นตอนที่สำคัญของการวิจัย… 1. ตั้งคำถาม 2. กำหนดจุดมุ่งหมาย 3. ทบทวนทฤษฎีเอกสารและงานวิจัยที่ เกี่ยวข้อง 4. ตั้งสมมติฐาน 5. กำหนดแบบของการวิจัย
4. 10 ขั้นตอนที่สำคัญของการวิจัย(ต่อ) 6. สร้างเครื่องมือประกอบการวิจัย 7. เก็บรวบรวมข้อมูล 8. จัดกระทำกับข้อมูล 9. สรุป และอภิปรายผล 10. รายงานผล
ความหมายของการวิจัยทรัพยากรมนุษย์ (HR Research) การวิจัยเอกสารที่ศึกษาค้นคว้า รวบรวม จัดระบบ วิเคราะห์และนำเสนอข้อมูล HRM ของหน่วยงาน โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากตำรา หนังสือ รายงาน ผลการวิจัย เอกสารหรือการวิจัยสนาม รายงาน บทความ และเอกสารต่าง ๆ ที่นักเขียน นักวิชาการ หรือนักวิจัยได้ทำไว้ (วิรัช วิรัชนิภาวรรณ)
6. ความสำคัญของการวิจัย HR 1. ความสำคัญต่อหน่วยงาน 2. ความสำคัญต่อนักบริหาร 3. ความสำคัญต่อบุคลากรของหน่วยงาน และประชาชน 4. ความสำคัญต่อวงการวิชาการ
7. ลักษณะของการวิจัย HR 1. เป็นสหวิทยาการ 2. ยากลำบากและสับสน 1. เป็นสหวิทยาการ 2. ยากลำบากและสับสน 3. ได้รับความสนใจน้อย
ขอบข่ายการวิจัย HR … 1. ด้านการสรรหาและคัดเลือกบุคคล 1. ด้านการสรรหาและคัดเลือกบุคคล - แสวงหาความเชื่อถือได้ของวิธีการ สัมภาษณ์ - ศึกษาวิธีการสร้างแบบทดสอบที่เป็น มาตรฐาน 2. การวิจัยทรัพยากรมนุษย์ด้านการพัฒนา - ศึกษาความจำเป็นในการฝึกอบรม ให้แก่พนักงาน - ประเมินผลงานของพนักงาน
ขอบข่ายการวิจัยทรัพยากรมนุษย์… 3. การวิจัยทรัพยากรมนุษย์ด้านการบริหารค่าตอบแทน - ศึกษาผลกระทบของค่าจ้างกับแรงจูงใจในการทำงาน - สำรวจและวิเคราะห์ค่าจ้างและเงินเดือนใน องค์การต่าง ๆ - พัฒนาโปรแกรมสวัสดิการและผลประโยชน์เกื้อกูล 4. การวิจัยทรัพยากรมนุษย์ด้านการพัฒนา - ศึกษาสภาพการทำงานที่ส่งผลต่อความพึงพอใจ พนักงาน - สำรวจสภาพแวดล้อมในการทำงานและสุขภาพจิตของ
ขอบข่ายการวิจัยทรัพยากรมนุษย์ (ต่อ) 5. การวิจัยทรัพยากรมนุษย์ด้านการพ้นจากงาน - แสวงหาวิธีการที่มีประสิทธิภาพในการ กำหนดการจ่ายเงินค่าตอบแทน - พัฒนาโปรแกรมเมื่อบุคคลพ้นสภาพจาก การทำงาน (พะยอม วงษ์สารศรี, 2541)
9. ประโยชน์ของการวิจัย HR… การบริหารงานที่มีประสิทธิภาพ เป็นข้อมูลในการวางแผน การสรรหา คัดเลือกทรัพยากรมนุษย์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
9. ประโยชน์ของการวิจัย HR (ต่อ) การจ่ายค่าตอบแทน พนักงานและการแรงงานสัมพันธ์ ความปลอดภัยและสุขภาพ (สมชาย หิรัญกิตติ, 2542)
กระบวนการวิจัย HR… 1. การยอมรับปัญหา - อะไรคือสาเหตุที่แท้จริงของปัญหา 1. การยอมรับปัญหา - อะไรคือสาเหตุที่แท้จริงของปัญหา 2. การกำหนดปัญหา - กำหนดจุดมุ่งหมายอย่างชัดเจนของ การวิจัย
10. กระบวนการวิจัย HR… 3. การเลือกวิธีการถาม - วิธีกรณีศึกษา 3. การเลือกวิธีการถาม - วิธีกรณีศึกษา - การสำรวจ - การทดลอง 4. คัดเลือกและใช้เครื่องมือวิจัยที่เหมาะสม - ความสามารถในการหาเครื่องมือเชิง ปริมาณ - วิธีการใช้เครื่องมือ - รู้จุดแข็งและจุดอ่อนของแต่ละวิธี - วิธีการหาผลลัพธ์
กระบวนการวิจัย HR(ต่อ) 5. การตีความผลการวิจัย 6. การลงมือปฏิบัติ 7. การประเมินผล - ประเมินจุดมุ่งหมายว่าแก้ปัญหาได้ อย่างแท้จริงหรือไม่ - ประเมินค่าใช้จ่าย - ประเมินระยะเวลาที่ใช้ว่าคุ้มค่าหรือไม่ (Mondy & Noe, 1996)
11. วิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณในการวิจัย HR 11. วิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณในการวิจัย HR 1. การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ 2. การวิเคราะห์ถดถอย 3. การวิเคราะห์จำแนกประเภท 4. การวิเคราะห์อนุกรมเวลา (สมชาย หิรัญกิตติ, 2542)
12. ข้อมูลเชิงปริมาณที่ใช้ในการวิจัย HR… 12. ข้อมูลเชิงปริมาณที่ใช้ในการวิจัย HR… 1. ด้านอัตราส่วนของประสิทธิผล - อัตราส่วนจำนวนพนักงานกับผลผลิต ทั้งหมด - ผลผลิตต่อจำนวนชั่วโมงการทำงาน ของพนักงาน 2. ด้านอัตราการเกิดอุบัติเหตุ - ความถี่ของการเกิดอุบัติเหตุ - เวลาที่เสียไปในการทำงาน
12. ข้อมูลเชิงปริมาณที่ใช้ในการวิจัย HR… 12. ข้อมูลเชิงปริมาณที่ใช้ในการวิจัย HR… 3. ด้านอัตราส่วนด้านแรงงานสัมพันธ์ของ องค์การ - จำนวนเรื่องราวร้องทุกข์ - จำนวนครั้งของการใช้อนุญาโตตุลาการ ด้านอัตราการลาออกจากงานและอัตราการ ขาดงาน - จำนวนคนที่เข้าทำงาน - อัตราการลาออกจากงานของพนักงาน
12. ข้อมูลเชิงปริมาณที่ใช้ในการวิจัย HR(ต่อ) 12. ข้อมูลเชิงปริมาณที่ใช้ในการวิจัย HR(ต่อ) 5. ด้านอัตราส่วนการจ้างงาน - ค่าเฉลี่ยของอายุแรงงาน - ค่าเฉลี่ยอายุของพนักงานระดับบริหาร เป็นต้น (Ivancevich, 1998)
ตัวอย่างหัวข้อวิจัยสำหรับ HRM… สาเหตุของการประท้วงและการร้องทุกข์ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจูงใจในการ ทำงาน การสร้างขวัญกำลังใจและการพัฒนา คุณภาพชีวิต บรรยากาศและสภาพแวดล้อมในการ
13. ตัวอย่างหัวข้อวิจัยสำหรับ HRM(ต่อ) ปัญหาการติดต่อสื่อสารภายในองค์การ การศึกษาความเท่าเทียมกันในการจ้าง งานระหว่างเพศหญิงและเพศชาย ความเที่ยงตรงของแบบทดสอบในการ คัดเลือกพนักงาน (สมชาย หิรัญกิตติ, 2542)