อุตุนิยมวิทยากับการแจ้งเตือนภัย โดยนายนิทัศน์ วัฒนธรรม ผู้อำนวยการสถานีอุตุนิยมวิทยาอุตรดิตถ์ โทร. 08-1595-9585
หน้าที่และความรับผิดชอบ ฝ่ายปฏิบัติการ ( กองอำนวยการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนจังหวัดอุตรดิตถ์) เป็นคณะกรรมการฝ่ายเฝ้าระวังและแจ้งเตือนภัย โดยมีหน้าที่ ดังนี้ 1. เฝ้าระวัง ติดตาม ติดตามข้อมูล ข่าวสาร สถานการณ์ ประกาศ และพยากรณ์อากาศ จากสำนักเลขาธิการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนแห่งราชอาณาจักร และกรมอุตุนิยมวิทยา 2. วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ รวมทั้งแนวโน้มการเกิดอุทกภัย วาตภัยและโคลนถล่ม ภัยธรรมชาติต่างๆ เพื่อรายงานผู้บังคับบัญชา
3. แจ้งเตือนหน่วยงานต่างๆ รวมทั้งอำเภอและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งประชาชนทราบ เพื่อเตรียมการป้องกันแก้ไขบรรเทาภัย 4. ปฏิบัติหน้าที่อื่น ตามที่ผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจฯ มอบหมาย ............................................
หน้าที่และความรับผิดชอบในสถานี 1. ทำหน้าที่ตรวจอากาศทุกๆ 3 ชั่วโมง วันละ 8 เวลา โดยไม่เว้นวันหยุดราชการ หรือวันนักขัตฤกษ์ 2. เฝ้าระวังและติดตามสภาวะอากาศอย่างใกล้ชิด เมื่อเกิดสภาวะอากาศเลวร้าย หรือภัยธรรมชาติ โดยใช้เครื่องมือและสื่อที่มีภายในสถานี 3. รับ – แจ้ง คำเตือนเกี่ยวกับข่าวอากาศ พยากรณ์อากาศ คำเตือนภัยให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สื่อต่างๆ รวมทั้งประชาชน 4. ให้ความรู้ด้านอุตุนิยมวิทยา แก่ผู้สนใจ หน่วยงานราชการ องค์กรปกครองท้องถิ่น นักเรียน นักศึกษา รวมทั้งประชาชน 5. เรื่องอื่นๆ ทั่วไป
Meteorological Information Technology System (MITS) ภัยธรรมชาติ กรมอุตุนิยมวิทยา ประชาชน
ภัยธรรมชาติ 1.อุทกภัย (Flood) 7. แผ่นดินไหว (Earthquake) ภัยธรรมชาติแบ่งตามลักษณะที่เกิด ออกเป็น 12 ชนิดดังนี้ 1.อุทกภัย (Flood) 2.ภัยแล้ง (Drought) 3.วาตภัย (Stroms) 4.คลื่นพายุซัดฝั่ง (Storm Surge) 5.พายุฝนฟ้าคะนอง (Thunderstorms) 6. แผ่นดินถล่ม (Land Slide) 7. แผ่นดินไหว (Earthquake) 8.คลื่นขนาดใหญ่ในทะเล (Tsunamies) 9. ไฟป่า (Forest Fire) 10.ภูเขาไฟระเบิด(Eruption) 11. คลื่นความร้อน (Heat waves) 12. พายุหิมะ(Snow Storm)
ลักษณะของการเกิดอุทกภัย น้ำป่าไหลไหลหลาก หรือน้ำท่วมฉับพลัน น้ำท่วม หรือน้ำท่วมขัง น้ำล้นตลิ่ง
น้ำป่าไหลหลาก เกิดจากฝนตกหนักบริเวณที่สูง จนดินบริเวณนั้นไม่สามารถดูดซับน้ำไว้ได้ จึงเกิดการไหลหลากของน้ำลงสู่พื้นที่ราบที่ต่ำกว่าอย่างรวดเร็ว และทำให้เกิด น้ำท่วมฉับพลันบริเวณพื้นที่ราบดังกล่าว ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายทั้งแก่ชีวิตและทรัพย์สินเป็นจำนวนมาก
ฝนตกหนัก/น้ำท่วม ปริมาณฝนตกหนักที่ก่อให้เกิดน้ำท่วม โดยปกติจะไม่สามารถระบุ เกณฑ์มาตรฐานทั่วไปได้ว่าปริมาณฝนเท่าไรจึงจะสามารถก่อให้เกิดน้ำท่วมได้ ทั้งนี้เพราะปริมาณฝนที่มีผลทำให้เกิดน้ำท่วมในแต่ละพื้นที่ จะมีความแตกต่างกัน โดยจะขึ้น อยู่กับความสามารถในการดูดซึมของพื้นดิน ระบบการระบายน้ำมีดี สิ่งก่อสร้างกีดขวาง และน้ำทะเลหนุนสูง
น้ำล้นตลิ่ง มีสาเหตุจากฝนตกหนักบริเวณต้นน้ำหรือ ณ จุดนั้นๆ ของแม่น้ำ ลำคลอง ทำให้ระดับน้ำในลำน้ำมีระดับสูงขึ้น จนเอ่อล้นตลิ่ง และไหลบ่าเข้าท่วมพื้นที่ริมฝั่งแม่น้ำ ลำคลอง
ภาพน้ำท่วมพื้นที่บริเวณ อ ภาพน้ำท่วมพื้นที่บริเวณ อ.เมืองสุโขทัย น้ำจาก ลุ่มน้ำแม่รำพันและลุ่มน้ำแม่มอก
น้ำท่วมบริเวณสถานีอุตุนิยมวิทยาอุตรดิตถ์ เมื่อ 22-23 พ.ค.2549 น้ำท่วมบริเวณสถานีอุตุนิยมวิทยาอุตรดิตถ์ เมื่อ 22-23 พ.ค.2549
น้ำท่วมถนนจิตรเพลินนอกบริเวณสถานีอุตุนิยมวิทยาอุตรดิตถ์ เมื่อ 22-23 พ น้ำท่วมถนนจิตรเพลินนอกบริเวณสถานีอุตุนิยมวิทยาอุตรดิตถ์ เมื่อ 22-23 พ.ค. 2549
ภาพแม่น้ำยมล้นตลิ่งบริเวณ อ.ศรีสำโรง
น้ำท่วมถนนจิตรเพลินนอกบริเวณสถานีอุตุนิยมวิทยาอุตรดิตถ์ เมื่อ 22-23 พ น้ำท่วมถนนจิตรเพลินนอกบริเวณสถานีอุตุนิยมวิทยาอุตรดิตถ์ เมื่อ 22-23 พ.ค. 2549
การแจ้งเตือนภัย โทรสารและจดหมายอิเลคทรอนิกส์ถึงหัวหน้าส่วนราชการ โทรสารถึงสื่อมวลชนทุกแขนง โทรศัพท์แจ้งเตือนภัยถึงหัวหน้าส่วนราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
Web site กรมอุตุนิยมวิทยา www.tmd.go.th Web site ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ http://www.cmmet.tmd.go.th ฝ่ายพยากรณ์อากาศ โทร. 0-5327-7919 Web site สถานีอุตุนิยมวิทยาอุตรดิตถ์ http://utd.cmmet.com โทร.0-5541-1051 E-mail s48351@metnet.tmd.go.th
ขอขอบคุณทุกท่าน