* สำนักบริหารการจัดสรรและชดเชยค่าบริการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
ความก้าวหน้าของการพัฒนา Database
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
ด้านการส่งเสริมพัฒนาและ ปรับปรุง :ระบบการให้บริการ
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
แนวทาง การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเรื้อน จังหวัดอุดรธานี
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
การดำเนินงานพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ่/ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (รพ.สต./ศสม.) จังหวัดเลย.
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 30 สิงหาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์ โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัด สุรินทร์ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
การจัดทำรายงาน โครงการนำร่องการให้บริการ วัคซีน LAJE ใน 8 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน พอพิศ วรินทร์เสถียร กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนฯ สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
สรุปการประชุม เขต 10.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ไข้เลือดออก.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
ปี2554 หญิงตั้งครรภ์ขาดสารไอโอดีน % มัธยฐาน ไมโครกรัมต่อลิตร สสจ. อุดรธานี ; 2554,2555 ผลการตรวจปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ เพื่อหาภาวการณ์ขาดสารไอโอดีน.
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
ตัวชี้วัดงานอาชีวอนามัย ความสำเร็จการประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล ปี 2555 ร้อยละของความสำเร็จ การประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล.
ค่าบริการแพทย์แผนไทยปีงบ 2556
การลงข้อมูลให้สมบูรณ์ และได้แต้ม
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
(OP/PP Individual Data) รังสรรค์ ศรีภิรมย์
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์รายงานสถานการณ์
1.การส่งข้อมูล 12&21และรายงาน 43+7 แฟ้มมาตรฐาน ผ่านสสจ.ชลบุรี
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน กรกฎาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
การบันทึกข้อมูล EPI และแพทย์แผนไทย
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
การตรวจราชการและนิเทศงานฯ
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
แนวทางการจัดสรร งบค่าบริการแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60.
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
  โครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามราชกุมารี
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ, งานระบาดวิทยา,EPI, งานทันตะฯ ด้วยสองมือ... ของพวกเรา... ร่วมสร้าง.
ทิศทาง..... งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2558
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
ประชุม web conference ติดตามข้อมูลแฟ้มมาตรฐาน วันที่ 24 เมษายน 2557
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

* สำนักบริหารการจัดสรรและชดเชยค่าบริการ 07/16/96 การบริหารงาน OP PP Individual Records ปีงบประมาณ 2557 การตรวจสอบข้อมูล Audit & Pending OP/PP indiv. สำนักบริหารการจัดสรรและชดเชยค่าบริการ *

วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาคุณภาพ และสร้างความน่าเชื่อถือของข้อมูล เพื่อป้องกันและยับยั้งการบันทึกข้อมูลที่ไม่พึงประสงค์(ไม่ได้เกิดขึ้นจากการปฏิบัติหรือให้บริการจริง)

การตรวจสอบคุณภาพข้อมูล (Audit) สปสช.ส่วนกลาง สปสช.เขต ความคลาดเคลื่อนของข้อมูล Utilization rate ข้อมูล OP/PP/Survey การให้รหัส Software ที่ใช้ สปสช.เขต Pending ผิดปกติ ตรวจสอบข้อมูล ปกติ งดการจัดสรร Statement - ออกรายงาน

กระบวนการตรวจสอบข้อมูล 1 2 OP Verify & Processing Auditing & Pending MCH Raw Data PP NCD OP/PP indiv Record OP/PP indiv Record OP/PP indiv Record LABFU SURVEIL - Condition - Detect - Inform - Structure - Code PERSON ……

ผังการดำเนินงานการตรวจสอบข้อมูล Auditing & Pending สปสช. เขต ออกพื้นที่ตรวจสอบ และ แจ้งผลการตรวจสอบมาที่ สปสช. ส่วนกลาง จัดทำข้อมูล Audit ส่งข้อมูลที่มีความผิดปกติ ให้แต่ละ สปสช เขต พิจารณา สปสช. (สจช.) สปสช. เขต หน่วยบริการ แจ้งผลการตรวจสอบมาที่ สปสช. ส่วนกลาง ขออุทธรณ์ แจ้งผลการตรวจสอบ รายงาน สรุปผล สสจ. กำกับดูแล ส่งเอกสาร และ ประกาศรายชื่อหน่วยบริการที่ถูก Pending ให้ สปสช. เขต , สสจ

เงื่อนไขการ Monitoring & Warning การตรวจสอบคุณภาพข้อมูลผู้ป่วยนอก (OP) เพิ่มเติม ในกรณีตรวจพบ หน่วยบริการมีอัตราการใช้บริการ (Utilization Rate) ที่ผิดปกติไปจากค่าเฉลี่ยมาตรฐานเกินจริง หรือมีความไม่สอดคล้องกัข้อเท็จจริงของการให้บริการ หรือไม่สอดคล้องกับหลักวิชาการทางการ แพทย์ และการสาธารณสุข

เงื่อนไขการชะลอการจ่าย Pending ตามคู่มือฯ แฟ้ม เงื่อนไขการชะลอการจ่าย Pending PERSON -จำนวนคนในเขตรับผิดชอบมากผิดปกติเกินความเป็นจริง EPI - วัคซีนไม่สอดคล้องกับแนวทางการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของกรมควบคุมโรค - ฉีดวัคซีนมากกว่า 3 เข็ม/คน/วัน - อายุและช่วงเวลาที่ฉีดวัคซีนไม่เหมาะสม FP - วิธีการคุมกำเนิดและระยะเวลาที่รับบริการไม่สอดคล้องสัมพันธ์กัน ANC -วันที่ให้บริการกับกิจกรรมการให้บริการไม่สัมพันธ์กัน MCH วันที่ให้บริการกับกิจกรรมการให้บริการไม่สัมพันธ์กัน PP อายุเด็กไม่สัมพันธ์กับวันที่ให้บริการ CHRONIC จำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อรังในเขตรับผิดชอบมากผิดปกติเกินความเป็นจริง SURVEIL จำนวนรายงานโรคมากผิดปกติ ช่วงระยะเวลาของการรายงานโรคไม่สอดคล้องกับข้อเท็จจริง NUTRI น้ำหนัก ส่วนสูง ผิดปกติ ไม่สัมพันธ์กับอายุ จำนวนผลงาน และ เป้าหมายไม่สัมพันธ์กัน NCDSCREEN ข้อมูลการคัดกรองไม่สอดคล้องกับเป้าหมาย ข้อมูลการคัดกรองไม่เหมาะสม เช่น เสียชีวิตไปแล้วหรือไม่มีตัวตนจริง CHRONICFU จำนวนครั้งและความถี่ของบริการตรวจมากผิดปกติ LABFU

เงื่อนไขการตรวจสอบ OP Visit 1 อัตราการใช้บริการ (Utilization Rate) เบี่ยงเบนไปจากค่าเฉลี่ย มากกว่า 3 SD 2 OP visit ที่เป็นผู้เสียชีวิตแล้ว ณ ก่อนวันที่รับบริการ 3 จำนวนการมารับบริการอย่างต่อเนื่องที่มากผิดปกติ/คน 4 กิจกรรมการให้บริการนวดไทยสูงผิดปกติ ทุกสิทธิ์ 5 กิจกรรมการให้บริการฟื้นฟูแม่หลังคลอดสูงผิดปกติหรือไม่เหมาะสม ทุกสิทธิ์ 6 ความถี่ของการใช้ยาสมุนไพรสูงมากผิดปกติ

การเกณฑ์การ Pending รพ.สต. ขนาดเล็ก > กว่า 3 SD Mean = 2.98 3SD= 7.44 SD = 1.48

การเกณฑ์การ Pending รพ.สต. ขนาดกลาง > กว่า 3 SD Avg = 2.27 3SD= 5.66 SD = 1.12

การเกณฑ์การ Pending รพ.สต. ขนาดใหญ่ > กว่า 3 SD Avg = 1.66 3SD= 4.78 SD = 1.03

OP Visit เสียชีวิตมารับบริการ

เงื่อนไขการตรวจสอบแฟ้ม MCH 1 PPCARE2 > date_send (บันทึกวันที่ให้บริการโดยไม่ได้ทำกิจกรรม) 2 PPCARE3 > date_send (บันทึกวันที่ให้บริการโดยไม่ได้ทำกิจกรรม) 3 ช่วงเวลาระหว่าง PPCARE1,PPCARE2,PPCARE3 ไม่เหมาะสม 4 จำนวนผู้ป่วยที่พบว่าเสียชีวิต ก่อนวันเข้ารับบริการ

บันทึกวันที่ให้บริการโดยไม่ได้ทำกิจกรรม วันที่ส่งข้อมูล กิจกรรมที่บันทึก date_send ppcare1,ppcare2,ppcare3 ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย.

สัดส่วนระยะการดูแลแม่ครั้งที่ ตามเกณฑ์มาตรฐาน หมายเหตุ การดูแลแม่หลังคลอดเน้นการดูแลครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 ตามเกณฑ์มาตรฐานกรมอนามัย การดูแลแม่ครั้งที่ 1 หมายถึง การดูแลแม่ตั้งแต่ 1 - 15 วันหลังคลอด การดูแลแม่ครั้งที่ 2 หมายถึง การดูแลแม่ตั้งแต่ 16 - 42 วันหลังคลอด การดูแลแม่ครั้งที่ 3 หมายถึง การดูแลแม่ตั้งแต่ 43 วันหลังคลอด กรณีที่มีการมารับบริการมากกว่า 1 ครั้งในแต่ละช่วงเวลา (ครั้งที่ 1, ครั้งที่ 2, ครั้งที่ 3) ให้จัดส่งข้อมูลการให้บริการครั้งสุดท้ายในแต่ละช่วงเวลา

เกณฑ์ตามตัวชี้วัดสำคัญปี 2556

ความถี่ของการบันทึกระยะการดูแลแม่ครั้งที่ 1 ที่ไม่อยู่ในเกณฑ์ การดูแลแม่ตั้งแต่ 1 - 15 วันหลังคลอด หมายเหตุ การดูแลแม่หลังคลอดเน้นการดูแลครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 ตามเกณฑ์มาตรฐานกรมอนามัย การดูแลแม่ครั้งที่ 1 หมายถึง การดูแลแม่ตั้งแต่ 1 - 15 วันหลังคลอด การดูแลแม่ครั้งที่ 2 หมายถึง การดูแลแม่ตั้งแต่ 16 - 42 วันหลังคลอด

ความถี่ของการบันทึกระยะการดูแลแม่ครั้งที่ 2 ระยะห่างจาก BDATE น้อยกว่า 16 วัน หมายเหตุ การดูแลแม่หลังคลอดเน้นการดูแลครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 ตามเกณฑ์มาตรฐานกรมอนามัย การดูแลแม่ครั้งที่ 1 หมายถึง การดูแลแม่ตั้งแต่ 1 - 15 วันหลังคลอด การดูแลแม่ครั้งที่ 2 หมายถึง การดูแลแม่ตั้งแต่ 16 - 42 วันหลังคลอด

ความถี่ของการบันทึกระยะการดูแลแม่ครั้งที่ 2 ระยะห่างจาก BDATE มากกว่า 42 วัน หมายเหตุ การดูแลแม่หลังคลอดเน้นการดูแลครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 ตามเกณฑ์มาตรฐานกรมอนามัย การดูแลแม่ครั้งที่ 1 หมายถึง การดูแลแม่ตั้งแต่ 1 - 15 วันหลังคลอด การดูแลแม่ครั้งที่ 2 หมายถึง การดูแลแม่ตั้งแต่ 16 - 42 วันหลังคลอด

ความถี่ของการบันทึกระยะการดูแลแม่ครั้งที่ 3 ระยะห่างจาก BDATE น้อยกว่า 42 วัน หมายเหตุ การดูแลแม่หลังคลอดเน้นการดูแลครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 ตามเกณฑ์มาตรฐานกรมอนามัย การดูแลแม่ครั้งที่ 1 หมายถึง การดูแลแม่ตั้งแต่ 1 - 15 วันหลังคลอด การดูแลแม่ครั้งที่ 2 หมายถึง การดูแลแม่ตั้งแต่ 16 - 42 วันหลังคลอด การดูแลแม่ครั้งที่ 3 หมายถึง การดูแลแม่ตั้งแต่ 43 วันหลังคลอด

ข้อมูลหน่วยบริการ 5 อันดับแรกบันทึกระยะการดูแลแม่ครั้งที่ 3 ระยะห่างจาก BDATE น้อยกว่า 42 วัน (3 วัน) รหัส ชื่อหน่วยบริการ ทั้งหมด 10675 รพ.สวรรค์ประชารักษ์ 741 10667 รพ.บุรีรัมย์ 357 10737 รพ.ประจวบคีรีขันธ์ 217 10687 รพ.ปทุมธานี 148 10664 รพ.พระปกเกล้า 16

ข้อมูลหน่วยบริการ 5 อันดับแรกบันทึกระยะการดูแลแม่ครั้งที่ 3 ระยะห่างจาก BDATE น้อยกว่า 42 วัน (28 วัน) รหัส ชื่อหน่วยบริการ Recordทั้งหมด 10679 รพ.นครปฐม 1138 10748 รพ.ปัตตานี 603 03225 รพ.สต.ขอนแตก หมู่ที่ 03 ตำบลขอนแตก 53 11015 รพ.กุมภวาปี 14 01709 รพ.สต.โคกแย้ หมู่ที่ 05 ตำบลโคกแย้ 10

จำนวนผู้ป่วยที่พบว่าเสียชีวิต ก่อนวันเข้ารับบริการ HCODE CID DOB_NHSO AGE BDATE PPCARE1 PPCARE2 PPCARE3 DEATH_DATE DATE_SEND 09960 1.9407E+12 29/1/1987 26 4/3/2013 4/10/2013 24/4/2013 16/5/2013 24/6/2013 7/1/2013 08955 5.8105E+12 17/2/1978 34 14/9/2012 17/9/2012 17/10/2012 15/5/2013 30/7/2013 10736 1.7699E+12 29/7/1993 19 6/6/2013 6/7/2013 17/9/2013 29/7/2013 15226 3.9599E+12 21/5/1981 32 28/5/2013 6/3/2013 21/6/2013 22/6/2013 24/7/2013 10742 3.8404E+12 10/9/1983 29 5/7/2013 5/9/2013 20/6/2013 19/7/2013 10672 1.5016E+12 21/6/1989 24 25/6/2013 26/6/2013 31/7/2013

เงื่อนไขการตรวจสอบแฟ้ม Surveil 1 จำนวนครั้งของการรายงานโรค/คน/โรค ไม่เหมาะสม 2 จำนวนผู้ป่วยที่พบว่าเสียชีวิต ก่อนวันเข้ารับบริการ

การรายงานโรคซ้ำซ้อน การรายงานผู้ป่วยตามระบบเฝ้าระวังโรค ให้รายงานตั้งแต่ผู้ป่วยที่สงสัย (Suspected case) โดยไม่ต้องรอผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ หากพบการระบาดโดยมีผู้ป่วยมากกว่า2รายขึ้นไปที่มีความเชื่อมโยงกันทางระบาดวิทยาควรรายงานทันทีทางโทรศัพท์โทรสารหรือจดหมายอิเลคทรอนิกส์ไปยังสำนักงานสาธารณสุขอำเภอสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สำนักงานป้องกันควบคุมโรค และสำนักระบาดวิทยา ตามลำดับทำการสอบสวนและควบคุมโรคภายใน24ชั่วโมงหลังพบผู้ป่วย การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล ผู้ป่วยรายเดียวกันในระยะหนึ่งสัปดาห์ถือว่าซ้ำซ้อน แนวทางการรายงานโรคที่มีความสำคัญสูง 2555 ประเทศไทย กรมควบคุมโรค

ตัวอย่างข้อมูลสำคัญ นิยาม แนวทางการสอบสวนโรคเบื้องต้น อหิวาตกโรค (Cholera) การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล ● การรายงานผู้ป่วยรายเดียวกันในระยะ 10 วันถือว่าซ้ำซ้อน ● ต้องตรวจสอบ (verify) ข้อมูลผู้ป่วยทุกรายที่ได้รับรายงาน

ตัวอย่างการรายงานโรคซ้ำซ้อนที่ตรวจพบ HCODE CID ILLDATE DATE_SERV DIAGCODE DATE_SEND 01482 3160400441458 09/01/2013 J159 09/04/2013 09:09:10 09/03/2013 09/05/2013 09/07/2013 12:09:50 09/06/2013 09/09/2013 09/11/2013 08:09:05 09/11/2013 09/12/2013 09/16/2013 08:09:22 09/13/2013 09/16/2013 09/18/2013 09:09:12 09/17/2013 09/18/2013 09/20/2013 10:09:01 09/19/2013 09/23/2013 09/26/2013 02:09:21 09/24/2013 09/25/2013 5160401080447 A090 09/28/2013 09:09:44 09/26/2013 09/27/2013 3160800008603 09/28/2013 H109 09/30/2013 07:09:32 วันคัดกรอง date_serv ตั้งแต่ กรกฎาคม-กันยายน 2556

เงื่อนไขการตรวจสอบแฟ้ม EPI 1 บันทึกการให้วัคซีน JE1,JE2,JE3 ช่วงเวลาไม่เหมาะสม 2 บันทึกการจำนวนผู้ป่วยที่พบว่าเสียชีวิต ก่อนวันเข้ารับบริการ 3 บันทึกการให้วัคซีน dTs1,dTs2,dTs3,dTs4 ช่วงเวลาไม่เหมาะสม 4 บันทึกการให้วัคซีน DTP1,DTP2,DTP3,DTP4,DTP5 ช่วงเวลาไม่เหมาะสม 5 บันทึกการให้วัคซีน HBV1,HBV2,HBV3 ช่วงเวลาไม่เหมาะสม 6 บันทึกการให้วัคซีน OPV1,OPV2,OPV3,OPV4,OPV5 ช่วงเวลาไม่เหมาะสม

แนวโน้มจำนวนข้อมูลกรณี ให้บริการผู้ที่เสียชีวิตในแฟ้ม EPI

การบันทึกข้อมูลแฟ้ม EPI ผู้ที่ให้บริการเสียชีวิต ก่อนวันเข้ารับบริการ วันคัดกรอง date_serv ตั้งแต่ กรกฎาคม-กันยายน 2556

ตัวอย่าง การบันทึกข้อมูลแฟ้ม EPI ผู้ที่ให้บริการเสียชีวิต ก่อนวันเข้ารับบริการ แสดงระยะห่างระหว่างวัน HCODE CID VCCTYPE DEATH_DATE ตายไปแล้ว(ปี) DATE_SERV DATE_SEND 06282 353030046XXXX 815 09/05/2001 12 08/01/2013 09/20/2013 07:09:07 35303XXXX9728 09/27/2002 11 35XXXX0407220 11/20/2002 35303XXXX5591 05/11/2003 10 07/31/2013 3530XXXX09591 06/30/2003 3650XXXX04248 07/11/2003 3530300XXXX87 09/27/2003 353XXXX396074 10/15/2003 35303003XXXX8 04/29/2004 9 353XXXX391421 05/29/2004 3530XXXX95337 06/04/2005 8 353030603 09/10/2005 3530300401027 12/29/2005 3530300410671 01/25/2006 3530100379613 06/02/2006 7 3530300356374 04/25/2007 6 3530300403437 12/10/2007 3530300406088 06/17/2008 5 3530300258216 12/19/2008 3530300395124 01/05/2009 3530300359969 04/08/2009 4 3530300405197 04/16/2009 3530300292627 12/21/2009 3530300411197 01/02/2010 วันคัดกรอง date_serv ตั้งแต่ กรกฎาคม-กันยายน 2556

ตารางสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของประเทศไทย The Expanded Programme on Immunization in Thailand : นพ.พรศักดิ์ อยู่เจริญ สํานักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค

กำหนดการให้วัคซีนในแผนการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของกระทรวงสาธารณสุข กรณีเริ่มให้ตั้งแต่แรกเกิดหรือภายในขวบปีแรก แรกเกิด BCG ฉีดให้เด็กก่อนออกจากโรงพยาบาล HB ควรให้เร็วที่สุดภายใน 24 ชม.แรกหลังคลอด 2 เดือน DTP,HB1   OPV1 4 เดือน DTP-HB2 OPV2 6 เดือน DTP-HB3 OPV3 9 เดือน MMR1 หากไม่ได้ฉีดเมื่ออายุ 9 เดือนให้รีบติดตามฉีดโดยเร็วที่สุด 1 ปีครีง DTP4,OPV4 JE1,JE2 ให้ 2 ครั้งห่างกัน 4 สัปดาห์ 2 ปีครีง JE3 4 ปี DTP5,OPV5 7 ปี MMR2 ตามแผนปฏิบัติงานของ ส.ธ. ให้ฉีดเก็ก ป.1 1.ให้กรณีไม่มีหลักฐานว่าเคยได้รับเมื่อแรกเกิดและไม่มีรอยแผลเป็น 2.ไม่ให้ในเด็กติดเชื้อ HIV ที่มีอาการเอดส์ dT,OPV เฉพาะผู้ที่ได้รับ DTP,OPV ไม่ครบ 5 ครั้ง 12 ปี dT ตามแผนปฏิบัติงานของ ส.ธ. ให้ฉีดเก็ก ป.6

อายุเมื่อเริ่มให้วัคซีน และระยะห่างระหว่างโดสขั้นต่ำ

ระยะห่างระหว่างครั้งที่ให้ วัคซีน JE ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 อย่างน้อย 7 วัน อย่างน้อย 6 เดือน ระยะห่างระหว่างครั้งที่ให้ อายุ 6 เดือนขึ้นไป

ระยะห่างระหว่างครั้งที่ให้ วัคซีน dT ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 อย่างน้อย 1 เดือน อย่างน้อย 6 เดือน กระตุ้นทุก 10 ปี ระยะห่างระหว่างครั้งที่ให้ เมื่อแรกพบ

ระยะห่างระหว่างครั้งที่ให้ วัคซีน DTP อย่างน้อย 1 เดือน อย่างน้อย 1 เดือน อย่างน้อย 6 เดือน อย่างน้อย 1 ปี 2 3 4 5 1 อายุ 42 วันขึ้นไป ระยะห่างระหว่างครั้งที่ให้

บันทึกการให้วัคซีน dTs1,dTs2,dTs3,dTs4 ช่วงเวลาไม่เหมาะสม กรณีวันเดียวกัน

ตัวอย่าง การบันทึกให้วัคซีน dTs1,dTs2,dTs3,dTs4 ช่วงเวลาไม่เหมาะสม กรณีวันเดียวกัน

ตัวอย่าง การบันทึกให้วัคซีน JE1,JE2 ช่วงเวลาไม่เหมาะสม กรณีบันทึกวันเดียวกัน เขต Provid hcode หน่วยบริการ ทั้งหมด 09 3100 13836 รพ.สต.บ้านสะแกซำ หมู่ที่ 02 ตำบลสะแกซำ 26 3600 04019 รพ.สต.บ้านโคกเพชร หมู่ที่ 01 ตำบลโคกเพชรพัฒนา 19 08 4100 04592 รพ.สต.บ้านโพนสูงเหนือ หมู่ที่ 02 ตำบลโพนสูง 13 4800 05600 รพ.สต.บ้านหนองปลาดุก หมู่ที่ 11 ตำบลบ้านผึ้ง 12 10 3400 03630 รพ.สต.บ้านโสกแสง หมู่ที่ 09 ตำบลโสกแสง 7 11 8600 09399 รพ.สต.บ้านควน หมู่ที่ 11 ตำบลบ้านควน 6 03701 รพ.สต.นาดี หมู่ที่ 02 ตำบลยางสักกระโพหลุ่ม 5 01 5000 11131 รพ.หางดง 4 05 7400 11305 รพ.บ้านแพ้ว 06 2000 01832 รพ.สต.บ้านหนองไผ่แก้ว หมู่ที่ 05 ตำบลหนองไผ่แก้ว 3 04 1900 01714 รพ.สต.ห้วยทราย หมู่ที่ 01 ตำบลห้วยทราย 04024 รพ.สต.ตะลอมไผ่ หมู่ที่ 01 ตำบลโคกสะอาด 02983 รพ.สต.บ้านบึงเจริญ หมู่ที่ 01 ตำบลบึงเจริญ 2 11119 รพ.จอมทอง 9300 14209 รพ.สต.บ้านศาลาตำเสา หมู่ที่ 03 ตำบลชะมวง 7100 08047 รพ.สต.บ้านลำอีซู หมู่ที่ 07 ตำบลหนองรี 3000 02766 รพ.สต.ตูมใหญ่ หมู่ที่ 03 ตำบลโนนตูม 3200 03225 รพ.สต.ขอนแตก หมู่ที่ 03 ตำบลขอนแตก 8000 11326 รพ.พิปูน วันคัดกรอง date_serv ตั้งแต่ กรกฎาคม-กันยายน 2556

ตัวอย่าง การบันทึกให้วัคซีน JE1,JE2 ช่วงเวลาไม่เหมาะสม กรณีบันทึกวันเดียวกัน hcode cid JE1 ระยะห่างจากครั้งแรก JE2 00972 1100202087XXX 20130710 01099 1608200041XXX 20130814 01208 1149901193XXX 01230 1147200036XXX 20130807 01241 1149901218XXX 01329 1149901182XXX 20130819 01463 1168300169XXX 20130711 01482 1779400061XXX 20130910 01501 1168300174XXX 20130912 01713 1199700180XXX 01714 1199901376XXX 1199901377XXX 1669200040XXX 01786 1309801621XXX 20130717 ระยะห่างระหว่างเข็ม JE1 และ JE2 กรณีแรกเกิดหรือขวบปีแรก ระยะห่าง ให้ 2 ครั้งห่างกัน 4 สัปดาห์ กรณีช่วงอายุ 1 -6 ปี ระยะห่าง ให้ 2 ครั้งห่างกัน 4 สัปดาห์ กรณีช่วงอายุ 7 ปี ขึ้นไป ระยะห่าง ให้ 2 ครั้งห่างกัน 2 สัปดาห์ เพื่อเร่งภูมิคุ้มกันได้เร็วขึ้น

ตัวอย่าง การบันทึกให้วัคซีน JE1,JE2,JE3 ช่วงเวลาไม่เหมาะสม เขต Provid hcode หน่วยบริการ ทั้งหมด 09 3100 13836 รพ.สต.บ้านสะแกซำ หมู่ที่ 02 ตำบลสะแกซำ 25 3600 04019 รพ.สต.บ้านโคกเพชร หมู่ที่ 01 ตำบลโคกเพชรพัฒนา 16 08 4100 04592 รพ.สต.บ้านโพนสูงเหนือ หมู่ที่ 02 ตำบลโพนสูง 5 06 2000 01832 รพ.สต.บ้านหนองไผ่แก้ว หมู่ที่ 05 ตำบลหนองไผ่แก้ว 3 01 5000 11131 รพ.หางดง 2 11119 รพ.จอมทอง 10 3400 10954 รพ.วารินชำราบ 04026 รพ.สต.โสกปลาดุก หมู่ที่ 02 ตำบลโสกปลาดุก 04022 รพ.สต.ท่าโป่ง หมู่ที่ 04 ตำบลวังตะเฆ่ 1 12 9100 09636 รพ.สต.บ้านในเมือง หมู่ที่ 12 ตำบลละงู 5400 06393 รพ.สต.บ้านป่าผึ้ง หมู่ที่ 06 ตำบลหัวฝาย 04057 รพ.สต.หนองคู หมู่ที่ 01 ตำบลหนองคู วันคัดกรอง date_serv ตั้งแต่ กรกฎาคม-กันยายน 2556

ตัวอย่าง การบันทึกให้วัคซีน JE1,JE2,JE3 ช่วงเวลาไม่เหมาะสม hcode cid JE1 ระยะห่างจาก ครั้งที่ 1 JE2 ระยะห่างจาก ครั้งที่ 2 jE3 age_year 04022 1369901034XXX 20130716 04026 33608XXX77626 10954 111XXX1111119 20130823 11131 0050871029XXX 20130709 7500700002XXX 20130702 04592 141XXX0126721 20130921 1 04019 13XXX00061033 20130723 2 1368900061XXX 141XXX0113506 1749901XXX441 17XXX00406298 20130725 09636 19199005XXX63 134XXX1528403 วันคัดกรอง date_serv ตั้งแต่ กรกฎาคม-กันยายน 2556

บันทึกการให้วัคซีน DTP1,DTP2,DTP3,DTP4,DTP5 ช่วงเวลาไม่เหมาะสม

บันทึกการให้วัคซีน HBV1,HBV2,HBV3 ช่วงเวลาไม่เหมาะสม

บันทึกการให้วัคซีน OPV1,OPV2,OPV3,OPV4,OPV5 ช่วงเวลาไม่เหมาะสม

เงื่อนไขการตรวจสอบแฟ้ม NCDSCREEN 1 จำนวนการคัดกรอง > ปชก.เป้าหมาย 2 บันทึกจำนวนผู้ที่พบว่าเสียชีวิต (มีการคัดกรองคนที่เสียชีวิตแล้ว) 3 บันทึก ความดันโลหิต ครั้งที่ 1,2 บันทึกค่า ไม่เหมาะสม บันทึก น้ำหนัก ส่วนสูง บันทึกค่า ไม่เหมาะสม

แนวโน้มจำนวนข้อมูลกรณีการบันทึกให้บริการผู้ที่เสียชีวิตในแฟ้ม NCDSCREEN

บันทึกจำนวนผู้ที่พบว่าเสียชีวิต แฟ้ม NCDSCREEN (มีการคัดกรองคนที่เสียชีวิตแล้ว) วันคัดกรอง date_exam ตั้งแต่ กรกฎาคม-กันยายน 2556

บันทึก ความดันโลหิต ครั้งที่ 1,2 บันทึกค่า ไม่เหมาะสม บันทึก ความดันโลหิต ครั้งที่ 1,2 บันทึกค่า ไม่เหมาะสม วันคัดกรอง date_exam ตั้งแต่ กรกฎาคม-กันยายน 2556

บันทึก ความดันโลหิต ครั้งที่ 1,2 บันทึกค่า ไม่เหมาะสม บันทึก ความดันโลหิต ครั้งที่ 1,2 บันทึกค่า ไม่เหมาะสม วันคัดกรอง date_serv ตั้งแต่ กรกฎาคม-กันยายน 2556

เงื่อนไขการตรวจสอบแฟ้ม PERSON 1 จำนวนคนที่อยู่อาศัยจริงในเขตตามสถานะบุคคล (typearea = 1+3) มากกว่าความเป็นจริงอย่างผิดปกติ 2 จำนวนคนตายที่ไม่จำหน่าย person

เงื่อนไขการตรวจสอบแฟ้ม NUTRI 1 การบันทึกน้ำหนัก และส่วนสูง ผิดปกติ ไม่สัมพันธ์กับอายุ เพศ 2 การบันทึกจำนวนผู้ที่พบว่าเสียชีวิตก่อนวันที่ให้บริการ

เงื่อนไขการตรวจสอบแฟ้ม CHRONIC 1 บันทึกจำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อรังในเขตมากผิดปกติ 2 บันทึกผู้เสียชีวิตแล้ว เมื่อตรวจสอบจากฐานข้อมูล สปสช.

จำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อรังในเขตมากผิดปกติ

บันทึกผู้เสียชีวิตแล้ว เมื่อตรวจสอบจาก ฐานข้อมูล สปสช.

เงื่อนไขการตรวจสอบแฟ้ม LABFU 1 บันทึกจำนวนครั้งและความถี่ของผลการตรวจ คน/เดือน 2 บันทึกจำนวนผู้ที่พบว่าเสียชีวิตก่อนวันที่ให้บริการ

เงื่อนไขการตรวจสอบแฟ้ม CHRONICFU 1 บันทึกจำนวนครั้งและความถี่ของผลการตรวจ คน/เดือน 2 บันทึกจำนวนผู้ที่พบว่าเสียชีวิตก่อนวันที่ให้บริการ

ปัญหาและอุปสรรค ความล่าช้าในการจัดทำข้อมูลเนื่องจากระบบประมวลใช้เวลาในการตรวจสอบและประมวลผลนานไม่เป็นตามกำหนดระยะเวลาที่แน่นอน ข้อมูลบุคคลที่ผิดพลาดจากฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์ ทำให้ข้อมูลที่ตรวจสอบผิดพลาด เหตุการณ์ความผิดพลาดที่เกิดแล้ว เกิดขึ้นซ้ำๆ โดยหน่วยบริการยังไม่ได้รับการแก้ไข หรือ แนะนำให้ความรู้อย่างถูกต้อง เกิดจากโปรแกรม HIS ที่มีกระบวนการบันทึกข้อมูลไม่เป็นไปตามหลักวิชาการ และยังไม่ได้รับการแก้ไขปรับปรุงให้ถูกต้อง