เอกสารประกอบการสอนภูมิศาสตร์การเมือง(GEO3202) Political Geography

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
หลักและทฤษฏีกฎหมายมหาชน
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
การส่งเสริมและสนับสนุน ให้สหกรณ์เป็นวาระ แห่งชาติ.
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
จัดทำโดย ด. ช. กรธวัช นนทนาคร ม.1/4 เลขที่ 1 ด. ช. ไชยภัทร ธรรมเพียร ม.1/4 เลขที่ 4 เสนอ อ. ฐิตาพร ดวงเกตุ Next.
ไทยกับการส่งเสริม CLC’s ในประเทศเพื่อนบ้าน
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ประชาคมอาเซียน.
กลุ่ม 6 ผลการประชุมระดมความ คิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางก้าวใหม่ ในการให้บริการ : ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ.
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบ บริเวณใดของโลก แหล่งอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุนับเป็นแหล่งอารยธรรม เริ่มแรกของอินเดีย อยู่บริเวณดินแดนภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
เทศบาลเมืองวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว
FTA.
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภูมิอากาศของทวีปยุโรป
Seminar 1-3.
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
การจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ขีดความสามารถในการรองรับได้ของแหล่งท่องเที่ยว
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
ทรัพยากรสัตว์ป่า.
การแสดงเจตจำนงของประชาชนตามระบอบประชาธิปไตย
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
ทดสอบหลังเรียนพระพุทธหน่วย8
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
. ระบบการปกครอง & การเมืองการปกครอง ของประเทศใน S.E.A.
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
วิชา สังคมไทยในบริบทโลก
การจัดการความรู้ Knowledge Management
นโยบายของรัฐด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สมุดปกขาว BCG in Action การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศไทย เพื่อเศรษฐกิจชีวภาพ.
การเตรียมตัวสู่ประชาคมอาเซียน
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
02/08/62 การศึกษาพลังงานทางเลือกจากมูลช้างทำถ่านอัดแท่ง สู่ชุมชนท้องถิ่นในเขตจังหวัดสุรินทร์ The Study of Alternative Fuel From Elephant Dung Made Bar.
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
Singapore ประเทศสิงคโปร์.
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
ประเทศบรูไน จัดทำโดย ด.ญ.ธัชพรรณ วรรณภิละ ม.2/8 เลขที่ 11
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เอกสารประกอบการสอนภูมิศาสตร์การเมือง(GEO3202) Political Geography ผู้สอน อ.พรสมิทธิ์ ฉายสมิทธิกุล สาขาวิชาภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

วิธีการจัดลำดับความคิดในการเรียนวิชาภูมิศาสตร์การเมือง 1. เรียนรู้ทฤษฎีและองค์ความรู้ต่างๆในวิชาภูมิศาสตร์การเมือง 2. อธิบายที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ และที่ตั้งสัมพัทธ์ของแต่ละทวีปว่าจุดใดบ้างที่ มีความสำคัญทางภูมิศาสตร์การเมือง วาดรูปที่ตั้งของมหาสมุทรต่างๆของโลกได้ 3. สามารถวาดรูปแผนที่โลก ที่สัมพันธ์กับเขตอากาศในเขตละติจูดต่ำ, กลาง และสูง 4. สามารถอธิบายภูมิประเทศแบบต่างๆ เช่นภูเขาสูง ที่ราบสูง ที่ราบลุ่มแม่น้ำ ที่สำคัญของโลกที่มีผลในทางภูมิศาสตร์การเมืองได้

(ต่อ) 5.1 วาดรูปแสดงพื้นที่เขตยุทธศาสตร์ทางทะเลได้ เช่น อ่าวเม็กซิโกหมู่เกาะฮาวาย ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทะเลดำ ทะเลสาบแคสเปียน ทะเลแดง ทะเลอันดามัน ทะเลจีนใต้ ช่องแคบมะละกา คลองปานามา คลองสุเอช 6. การกระจายประชากร 6.1 การกระจายเชิงปริมาณ เช่นจีน อินเดีย 6.2 การกระจายเชิงคุณภาพ เช่น กลุ่มประเทศที่พัฒนา/ กำลังพัฒนา/ ด้อยพัฒนา

(ต่อ) 6.3 ประเทศมหาอำนาจกับการกระจายตัวของประชากร (จีน,อเมริกา, 6.3 ประเทศมหาอำนาจกับการกระจายตัวของประชากร (จีน,อเมริกา, เยอรมนี, อิสราเอล, ญี่ปุ่น) 6.4 ประเทศกำลังพัฒนา/ ด้อยพัฒนา กับการกระจายตัวของประชากร (ไทย, พม่า, กัมพูชา ฯลฯ)

ภูมิศาสตร์การเมือง (Political Geography) กระบวนการศึกษา เข้าใจทฤษฎีทางการเมืองของโลก เข้าใจที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของทวีปต่างๆของโลกอันนำมาสู่การกำหนด ภูมิยุทธศาสตร์โลกของมหาอำนาจ เข้าใจลักษณะภูมิประเทศแบบต่างๆในเชิงลึกที่เป็นแรงจูงใจให้ประเทศ ต่างๆ ดำเนินกลยุทธทางการเมืองเพื่อได้มาซึ่งผลประโยชน์สูงสุด เข้าใจการกระจายทรัพยากรของโลก อันนำมาสู่การดำเนินกลยุทธทางการเมือง เพื่อให้ได้ผลประโยชน์สูงสุด

ทฤษฎีการเมืองของโลก แบ่งกลุ่มประเทศตามลักษณะของการปกครอง 1. ประเทศที่ปกครองในระบอบประชาธิปไตย 2. ประเทศที่ปกครองในระบอบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ แบ่งกลุ่มประเทศตามยุทธวิธีการดำเนินยุทธวิธีทางการเมืองของโลก 1. ประเทศประชาธิปไตย 2. ประเทศสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ 3. ประเทศที่ไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด (คบทั้งกลุ่มประเทศ ที่ 1 และ 2)

การแบ่งกลุ่มประเทศ (ต่อ) การแบ่งกลุ่มประเทศตามสภาพทางเศรษฐกิจ ประเทศด้อยพัฒนา ประเทศกำลังพัฒนา ประเทศที่พัฒนาแล้ว

ขอบข่ายของวิชาภูมิศาสตร์การเมือง(เป็นวิชาแขนงย่อยในกลุ่มภูมิศาสตร์มนุษย์) ศาสตร์อื่นๆ ประวัติศาสตร์ ปรัชญาและศาสนา รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ ธรณีวิทยา

ปรัชญาทางการเมือง พลาโต, อริสโตเติล, ลินคอร์น, คาร์ลมาร์ก ฯลฯ พลาโต, อริสโตเติล, ลินคอร์น, คาร์ลมาร์ก ฯลฯ - โลกประชาธิปไตย - สังคมนิยมคอมมิวนิสต์ - สังคมในอุดมคติ เฮโรโดโดตัส/พลาโต/ชาวกรีก 425-347 B.C. กล่าวถึงความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศและบริเวณต่างๆภายในประเทศ/อริสโตเติล/ สตราโบ ชาวโรมัน ศ.ที่ 18 วิชานี้จึงเจริญขึ้นมาก เช่น แมคคินเดอร์/ รัสเซล ฯลฯ

รัฐ ดินแดนและขอบเขตของรัฐ ประชาชน อำนาจอธิปไตยเหนือดินแดนนั้นๆ

พัฒนาการของภูมิศาสตร์การเมือง ลักษณะทางภูมิศาสตร์กับความสัมพันธ์กับรูปแบบของมนุษย์ในแต่ละดินแดน ความเชื่อกับรูปแบบการปกครองของมนุษย์ การขยายความเชื่อทางการเมืองอันนำมาสู่ความขัดแย้งของมนุษย์ในแต่ละภูมิภาคของโลก - ลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่มีอิทธิพลต่อการขยายเครือข่ายทางการเมือง ทั้งในระดับท้องถิ่นจนถึงระดับโลก (ที่ตั้ง ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ ลักษณะทางเศรษฐกิจและอื่นๆ)

พัฒนาการทางการเมืองกับสภาพเศรษฐกิจ ลัทธิทุนนิยมกับการปกครองระบอบประชาธิปไตย ความยากจนกับการปกครองในระบอบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ การดำเนินเศรษฐกิจแบบผสมผสานทั้งกลุ่มที่ปกครองแบบประชา ธิปไตยและแบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์

พัฒนาการของภูมิศาสตร์การเมืองของไทย สมัยสุโขทัย สมัยลพบุรี สมัยอยุธยา สมัยธนบุรี สมัยรัตนโกสินทร์

ภูมิศาสตร์การเมืองในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง (รัชกาลที่ 1- 6) ภายหลังการเปลี่ยนแปลง พ.ศ. 2475- ปัจจุบัน - ลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่สอดคล้องกับการเมืองการปกครองของไทย - ความแตกต่างของการเมืองในแต่ละภูมิภาค - ปัญหาการเมืองในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ - ปัญหาทางการเมืองของไทยกับประเทศข้างเคียง

การศึกษาภูมิศาสตร์การเมือง มีหลักเกณฑ์เหมือนกันทุกประเทศ แต่แตกต่างกันที่เนื้อหาปลีกย่อยของแต่ละประเทศ และแต่ละจุดมุ่งหมายทางการเมืองของแต่ละประเทศนั้นๆ อังกฤษ พื้นที่ประเทศเล็ก> เจ้าทะเล > ขยายดินแดน > (เพื่อขายสินค้าที่ผลิต หรือนำทรัพยากรธรรมชาติและวัตถุดิบกลับประเทศ) > ลัทธิการล่าอาณานิคม

(ต่อ) ภูมิศาสตร์การเมืองในประเทศอังกฤษ - เซอร์ วิลเลียม เพ็ทที มีชื่อเสียงมาก่อนหน้า 200 ปี - เซอร์ ฮัลฟอร์ด แมคคินเดอร์(พ.ศ.2404-2490) เป็นนักภูมิศาสตร์การเมือง ยุคใหม่ที่มีชื่อเสียง มีความคิดว่าความขัดแย้งในประวัติศาสตร์มาจาก ความขัดแย้งระหว่างประเทศที่มีอำนาจทางทะเล แมคคินเดอร์เป็นเจ้าของ ทฤษฎีว่าด้วยความสำคัญของที่ตั้ง “ใครครอบครองยุโรปตะวันออกก็สามารถควบคุมบริเวณหัวใจโลกได้ ใครครอบครองบริเวณหัวใจโลกได้ก็สามารถครอบครองเกาะโลกได้ ใครครอบครองเกาะโลกได้ก็สามารถควบคุมโลกได้”

แมคคินเดอร์เห็นว่าทวีปเอเชียและแอฟริกาควรเป็นแผ่นดินเดียวกัน ควรเรียกว่าเกาะขนาดมหึมาของโลก ส่วนที่เหลือคือทวีปอเมริกาเหนือ-ใต้ และออสเตรเลีย แมคคินเดอร์คิดว่าบริเวณหัวใจของโลก(Pivot Area sinv Hearthland) ควรอยู่ที่ส่วนของเกาะโลก ซึ่งตอนแรกแมคคินเดอร์เข้าใจว่าหัวใจของโลกคือบริเวณ ยูเรเซีย แมคคินเดอร์มีการเปลี่ยนแปลงพื้นที่บริเวณหัวใจของโลก ส่วนทวีปแอฟริกาจัดเป็นหัวใจโลกแห่งที่สอง ในปัจจุบันความคิดของเขาอาจ ถูกต้องบางส่วน

(ต่อ) สหรัฐอเมริกา พื้นที่ประเทศใหญ่มาก ทรัพยากรอุดมสมบูรณ์ > ไม่เกี่ยวข้องมากนักกับ WWII เยอรมนี พื้นที่น้อย wwI คน 70 ล้านคน > ต้องการรวมชาติ/ขาดทรัพยากรฯ >ก่อ wwII ฝรั่งเศส ศึกษาสภาพภูมิศาสตร์ เพื่อหาความสัมพันธ์กับการปกครองประเทศ

(ต่อ) ฝรั่งเศส จะศึกษาวิชาภูมิศาสตร์การเมืองแทรกอยู่ในวิชาภูมิศาสตร์มนุษย์ บุคคลที่มีชื่อเสียงได้แก่ ปอล วิดาล เดอ ลา บลาช (พ.ศ. 2388-2461) ซึ่งเป็นผู้มีความรู้เกี่ยวกับภูมิศาสตร์ภูมิภาค เดิมนักภูมิศาสตร์ฝรั่งเศส ไม่เห็นด้วยกับการขยายอำนาจเข้าสู่ประเทศข้างเคียง เพราะจะเกิดความทุกข์ยากแก่ประเทศเหล่านั้นและแก่ฝรั่งเศสเองด้วย

องค์ประกอบของรัฐ อาณาเขต ประชากร การรวมกำลัง เช่นสหรัฐอเมริการวมกำลังด้วยการปลูกฝังให้พลเมืองได้รับการศึกษาสูง แต่ส่วนใหญ่นิยมรวมกำลังโดย - การรวมกำลังทางการปกครอง - การรวมกำลังทางเศรษฐกิจ - การรวมกำลังทางทหาร อำนาจอธิปไตยภายในรัฐ อาจมาจากการเสริมอำนาจหรือกำลังความสามารถ เศรษฐกิจของชาติ+พื้นที่+ประชากร+อำนาจทางทหาร

แสดงเขตยุทธศาสตร์โลก

ภูมิอากาศกับภูมิศาสตร์การเมือง อากาศหนาว (ขั้วโลก, ภูเขาสูง, ทุนดรา, ไทกา) อากาศร้อน (ศูนย์สูตรและเหนือศูนย์สูตรขึ้นไป) แห้งแล้ง (ทะเลทรายและกึ่งทะเลทราย ฝนตกน้อยกว่า 10 นิ้วต่อปี) อากาศอบอุ่น เป็นอากาศที่ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองมากที่สุด - เขตละติจูดปานกลาง เช่น ตอนกลางอเมริกาเหนือ จีน เกาหลี ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์

เปรียบเทียบความเจริญของโลกในซีกโลกเหนือและซีกโลกใต้ ซีกโลกเหนือเจริญกว่าซีกโลกใต้ เนื่องจาก - เคยเป็นดินแดนที่เจริญมาก่อน - การคมนาคมในซีกโลกเหนือสั้นกว่าทางซีกโลกใต้ - จำนวนประเทศและประชากรในซีกโลกเหนือมากกว่าซีกโลกใต้ - ซีกโลกเหนือล้วนเป็นเขตอุตสาหกรรมสำคัญมากกว่าซีกโลกใต้ - ซีกโลกใต้มีทรัพยากรจำกัดกว่า โดยเฉพาะทรัพยากรพลังงาน

ลักษณะที่เหมือนและแตกต่างกันกับลักษณะการปกครอง 1. ในอดีตประเทศที่อากาศค่อยๆเพิ่มความแตกต่าง เช่นสหรัฐอเมริกา รัสเซียจะมีการรวมอำนาจเป็นปึกแผ่น 2. ในอดีตประเทศที่มีอากาศแตกต่างกันมาก เช่นสเปน มักใช้ระบบการ ปกครองแบบเผด็จการ

ภูมิอากาศกับการทำสงคราม อาหารกับการทำสงคราม เครื่องนุ่งห่มกับกิจการทางทหาร การใช้หรือผลิตยุทโธปกรณ์กับภูมิอากาศ การใช้ความสัมพันธ์ของลักษณะอากาศกับการสู้รบ เช่นการใช้การพยากรณ์อากาศวันดีเดย์ที่พันธมิตรเผด็จศึกเยอรมนีในสงครามโลกครั้งที่2

ลักษณะของแผ่นดินกับการได้เปรียบเสียเปรียบทางการเมือง ลักษณะแผ่นดิน (Landform) ที่ราบ ภูเขา เนินเขา หุบเขา ที่ราบสูง - ข้อดี เช่นที่ราบเป็นแหล่งอาหารที่อุดมสมบูรณ์(เป็นแรงดึงในเชิง ภูมิศาสตร์การเมือง)/ ที่สูงเป็นแรงผลักในเชิงภูมิศาสตร์การเมือง - ข้อเสีย ที่ราบเป็นเป้าหมายการโจมตี ขาดสิ่งกีดขวางทางธรรมชาติ

ที่สูง/เนินเขา/ที่ราบสูง/หุบเขา ที่สูงใน เวเนซูเอลา โคลัมเบีย เอกวาดอร์ที่ราบสูงอนาโตเลียของตุรกี ที่ราบสูงทิเบต ที่ราบสูงสวิสเซอร์แลนด์อยู่ระหว่างเทือกเขาแอลป์ ในอัฟกานิสถานฯลฯ ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ มีช่องเขาพอเหมาะเพื่อเปิดทำการค้า และปิดเมื่อทำสงคราม ประเทศอยู่ที่สูงมักไม่มีทางออกทะเล ขาดแรงงานประชากรขาดความเป็นอัหนึ่งอันเดียวกันสวิสฯเองเคยเกิดสงครามการเมืองหลายครั้งเพราะแตกต่างกันเรื่องภาษา

ทะเล/ มหาสมุทรกับการเป็นมหาอำนาจ “การควบคุมเส้นทางพานิชย์ทางทะเลจะเป็นกุญแจสำคัญแห่งการขยายอำนาจ” อัลเฟร็ด แทออร์มาฮาน - การเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 2 ของอเมริกา - การล่าอาณานิคมของชาติยุโรปในเอเชียและอัฟริกา

ประเทศมหาอำนาจกับทรัพยากรฯ อาหาร พลังงาน อื่นๆ * ความเป็นประเทศมหาอำนาจจำเป็นหรือไม่ที่ต้องมีทรัพยากรที่อุดมสมบูรณ์ *

วิธีการจัดลำดับความคิดในการเรียนวิชาภูมิศาสตร์การเมือง เรียนรู้ทฤษฎีและองค์ความรู้ต่างๆในวิชาภูมิศาสตร์การเมือง สามารถวาดรูปแผนที่โลก ที่สัมพันธ์กับเขตอากาศในเขตละติจูดต่ำ, กลาง และสูง อธิบายที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ และที่ตั้งสัมพัทธ์ของแต่ละทวีปว่าจุดใดบ้างที่ มีความสำคัญทางภูมิศาสตร์การเมือง สามารถอธิบายภูมิประเทศแบบต่างๆ เช่นภูเขาสูง ที่ราบสูง ที่ราบลุ่มแม่น้ำ ที่สำคัญของโลกที่มีผลในทางภูมิศาสตร์การเมืองได้ 5. วาดรูปที่ตั้งของมหาสมุทรต่างๆของโลกได้

(ต่อ) 5.1 วาดรูปแสดงพื้นที่เขตยุทธศาสตร์ทางทะเลได้ เช่น อ่าวเม็กซิโก 5.1 วาดรูปแสดงพื้นที่เขตยุทธศาสตร์ทางทะเลได้ เช่น อ่าวเม็กซิโก หมู่เกาะฮาวาย ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทะเลดำ ทะเลสาบแคส- เปียน ทะเลแดง ทะเลอันดามัน ทะเลจีนใต้ ช่องแคบมะละกา คลองปานามา คลองสุเอช 6. การกระจายประชากร 6.1 การกระจายเชิงปริมาณ เช่นจีน อินเดีย 6.2 การกระจายเชิงคุณภาพ เช่น กลุ่มประเทศที่พัฒนา/ กำลังพัฒนา/ ด้อยพัฒนา

(ต่อ) 6.3 ประเทศมหาอำนาจกับการกระจายตัวของประชากร (จีน, อเมริกา, 6.3 ประเทศมหาอำนาจกับการกระจายตัวของประชากร (จีน, อเมริกา, เยอรมนี, อิสราเอล, ญี่ปุ่น) 6.4 ประเทศกำลังพัฒนา/ ด้อยพัฒนา กับการกระจายตัวของ ประชากร(ไทย, พม่า, กัมพูชา ฯลฯ)

การกระจายทรัพยากรฯในเชิงภูมิศาสตร์การเมือง ทรัพยากรฯที่สำคัญของโลก แร่เชื้อเพลิง(น้ำมันฯ/ถ่านหิน/ก๊าซ/หินน้ำมัน/เหล็ก การกระจายทรัพยากรอาหารของโลก(ข้าวเจ้า/ ข้าวสาลี/ ข้าวโพด/ฯลฯ) ประเทศมหาอำนาจกับทรัพยากรต่างๆ

ความเชื่อที่นำมาสู่พัฒนาการของประเทศเชิงภูมิศาสตร์การเมือง เน้นการพึ่งพาสภาพธรรมชาติเป็นหลัก “นิยัตนิยมภาวะแวดล้อม” environmental determinism มีการดัดแปลงสิ่งแวดล้อมหรือใช้เทคโนโลยีหรือวิธีการต่างๆเพื่อดำรงชีวิตอยู่ได้ เช่นการสร้างระบบชลประทาน possibilism การวางแผนพยากรณ์ไปข้างหน้าในการดำรงชีวิต นำสถิติ การสำรวจวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ มาวางแผนการดำรงชีวิต probabilism

รูปแบบทางการเมืองของโลก ศาสตราจารย์เลวิส อเล็กซานเดอร์ ได้กล่าวถึงพลังรวมและพลังแยก ศูนย์กลางของพลังทางการเมือง - ในระดับโลก อาจหมายถึง เกาะโลก หัวใจโลก - ประเทศไทย อะไรคือพลังรวม หรือศูนย์กลางทางการเมืองของไทย เช่น การศึกษาถึงภูมิศาสตร์การเลือกตั้ง (Electorial Geography) ศึกษาเกี่ยวกับ ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ที่บังเกิดผลต่อการ ตัดสินใจหรือเกิดปฏิกิริยาทางการเมือง

รัฐ ชาติ ประเทศชาติ (The State,The Nation and Nation-State) มีจำนวนประเทศที่ยอมรับ 194 ประเทศ ยังไม่มีอำนาจอธิปไตยเหนือดินแดน 29 ประเทศ (รวม223 ประเทศ) โดยสำนักงานเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติ 1 กรกฎาคม ค.ศ.2009 รัฐ - ประชากร รัฐบาล พื้นที่ ถ้าประกอบด้วยรัฐบาลที่ไร้ความสามารถก็ไม่อาจเป็นรัฐที่มีอำนาจ ชาติ ประชากรเป็นปัจจัยที่สำคัญยิ่งในการประกอบเป็นชาติ(ต้องมีความผูกพันร่วมกัน) เช่น กรณีของอิสราเอล/ ไทย (ต่างกันที่จิตสำนึกในความเป็นชาตินิยม(Nationalism)

โครงสร้างของรูปแบบการบริหารรัฐ

พลังแยก (Centrifugal forces) คือปัจจัยทางกายภาพ ขนาด รูปร่าง ที่ตั้ง พลังรวม (Centripetal forces) เช่น เอกัตบุคคล ประมุข กษัตริย์ ฯลฯ

ปัจจัยเกี่ยวกับระวางที่และทางกายภาพในวิชาภูมิศาสตร์การเมือง ระวางที่ Space เป็นที่ตั้งของรัฐ - ที่ตั้ง Location - ขนาด Size - รูปร่าง shape/ Form - พรมแดน Boundary

ที่ตั้ง กำหนดโดยพิกัดทางภูมิศาสตร์ ที่ตั้ง สัมพันธ์กับพื้นดินและพื้นน้ำ เช่นประเทศลาว Landlock Laos รัฐที่ไร้ชายฝั่ง Landlock location อาจตกอยู่ใต้อิทธิพลของรัฐอื่น อ่าวไทยเป็นทะเลกึ่งปิดล้อม Semi-enclosd sea ที่ตั้งที่เกี่ยวข้องกับประเทศใกล้เคียง Vicinal location จะเป็นมิตรหรือ ศัตรู เช่นไทย-กัมพูชา

รัฐกันกระทบหรือรัฐกันชน Buffer location รัฐที่มีที่ตั้งเป็นศูนย์กลาง Central location แดนหัวใจโลก เช่นรัฐอลาส กา

ขนาด Size ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีขนาดใหญ่ของโลกหากดูจากพื้นที่ และติดทะเลถึงสองด้าน อยู่เกือบใต้สุดของคาบสมุทรอินโดจีน ทำให้ที่ตั้งมีความเหมาะสมทั้งเรื่องการค้า และเป็นจุดยุทธศาสตร์ของโลกในสงครามโลกครั้งที่ 2

ประเทศไทยกับลักษณะภูมิศาสตร์ที่มีผลต่อการดำเนิน นโยบายทางการเมืองทั้งในและต่างประเทศ พรมแดนทางบก พรมแดนทางทะเล พรมแดนทางอากาศ การดำเนินนโยบายทางการเมืองที่สอดคล้องกับลักษณะ ทางภูมิศาสตร์ ใช้การฑูตนำการทหารเป็นมิตรกับทุกประเทศ การเมืองภายในประเทศต้องมีทิศทางชัดเจน

การวิเคราะห์โครงสร้างภายในทางภูมิศาสตร์การเมืองของรัฐ (An Analysis the International Structure in Political Geography of state) ทราบถึงอำนาจรัฐอุดมคติ นำองค์ประกอบของรัฐอุดมคติไปวิเคราะห์และเปรียบเทียบโครงสร้างภายในของแต่ละประเทศได้ วิเคราะห์โครงสร้างภายในทางภูมิศาสตร์การเมืองของรัฐ โดยใช้องค์ประกอบทางกายภาพ สิ่งแวดล้อมทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมได้ วิเคราะห์แรงแยกและแรงดึงเข้าสู่ศูนย์กลางของหน่วยการเมืองขนาดเล็กและขนาดใหญ่ได้ รัฐมีการประกอบกิจกรรมผ่านหน่วยงานของรัฐเพื่อบริการแก่ชุมชน

(ต่อ) มีการสร้างสถาบันทางนามธรรม(means) ของการปกครองระบอบ ประชาธิปไตย 7. สามารถจัดระดับรัฐต่างๆที่มีการปกครอง โดยพิจารณาจากโครงสร้างภายในของรัฐทุกๆด้าน

แบบแผนทางการเมือง การรวมตัวของกลุ่มชนในภูมิภาคต่างๆ รัฐ/ประเทศ รัฐบาล กระบวนการบริการประชาชน - ทรัพยากรฯ/ การคลัง / ระบบราชการ / อำนาจอธิปไตย/ การดำรงอยู่ใน-สังคมโลก

Howard H. Lentner 1984 รัฐมีองค์ประกอบทั้งรูปธรรมและนามธรรม - ดินแดน turitory - ประชากร population - ความต่อเนื่อง continuty - รัฐบาล government - ความมั่นคงของรัฐ security - ทรัพยากร resource - การคลัง finances

(ต่อ) ระบบราชการ bureaucracy อำนาจอธิปไตย sovereignty การดำรงอยู่แห่งรัฐหรือสังคมโลก existence as part of asociety of state

รัฐอุดมคติ the ideal state มนุษย์ปรารถนาจะก้าวไปให้ถึงจุดนั้น Aristotel 384 – 322 B.C. เห็นว่ารัฐที่สมบูรณ์ต้องประกอบด้วย ขนาดประชากรที่พอเหมาะ (พลเมืองต้องมีความรู้เกี่ยวกับการปกครอง การเมือง การเลือกตั้ง การออกเสียงเลือกตั้ง การรู้จักหน้าที่ของตนเอง รัฐมีหน้าที่ปกครองและให้ความยุติธรรม) มีอาณาเขตหรือดินแดน (ทั้งทางบก ทางทะเล ทางอากาศ) ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ (มีอำนาจและคำนึงถึงผลประโยชน์ของชาติ เชื่อว่าภูมิอากาศมีผลเหนือกิจกรรมของมนุษย์)

(ต่อ) ลักษณะเฉพาะของประชากร - ในเขตหนาว มีสปิริตแต่ไม่ฉลาดไม่สามารถปกครองผู้อื่นได้ - ชาวเอเชีย ฉลาดแต่ขาดสปิริต จึงตกเป็นทาสและไร้อิสรภาพ - ชาวกรีกอยู่ตรงกลางดีที่สุด รัฐควรมีแผ่นดินติดทะเลด้วยให้มากที่สุด(ที่สูง เป็นคณาธิปไตย/ละราชาธิปไตย ที่ราบเหมาะในการปกครองแบบประชาธิปไตย) ควรมีการคมนาคมที่ดี หน่วยการเมืองที่สูงกว่าประเทศ เช่น สหประชาชาติ กลุ่มอาเซียน กลุ่มนาโต้ กลุ่มประเทศผู้ไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด*