การปฏิรูปการเลือกตั้งผู้แทนราษฎร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

การมีส่วนร่วมทางการเมือง
การเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ความหมายของประชาธิปไตย
กระบวนการกำหนดนโยบายเศรษฐกิจในประเทศไทย
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
มูลนิธิสถาบันที่ดิน 9 กรกฎาคม 2550
ปฏิรูปการเมือง สถาบันทางการเมือง สิทธิเสรีภาพ ยุติธรรม เศรษฐกิจ
สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
รัฐธรรมนูญใหม่ (พ.ศ. 2550) กับการปกครองท้องถิ่นไทย โดย
สาระสำคัญของ ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ....
รหัสวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society)
เนื้อหา (กลางภาค) พฤติกรรมมนุษย์ การขัดเกลาทางสังคม
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
เค้าโครง ภาค ๑ หลักทั่วไป ภาค ๒ ความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ
ธนกิจการเมือง Money Politics.
การเลือกตั้ง (Election)
หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (ส.บ. หรือ B.PH.)
วิธีการสหกรณ์ อุดมการณ์ หลักการ นายบรรทูรย์ ราชิวงค์
กลุ่มที่ 1 การส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์ข้อ 1
นโยบายและการขับเคลื่อน
การบริหารจัดการท้องถิ่น
: ระบอบประชาธิปไตยในยุคโลกาภิวัฒน์
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
ระบอบประชาธิปไตย ความหมาย นิยามตามศัพท์ของคำ.
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
1. Legal Status 2. Area and Level องค์ประกอบการปกครองท้องถิ่น
1. Legal Status 2. Area and Level องค์ประกอบการปกครองท้องถิ่น
นายกสมาคมธุรกิจบ้านจัดสรร
บทที่ 5 นโยบายต่างประเทศ
ทุกท่านด้วยความยินดียิ่ง
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
กรอบทิศทางการพัฒนา เด็กและเยาวชน
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
กลุ่มที่ 2 กลุ่มจังหวัดที่ 3.1 (นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี อ่างทอง) กลุ่มจังหวัดที่ 3.2 (ชัยนาท ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี) กลุ่มจังหวัดที่ 4.1 (กาญจนบุรี
แนวคิดความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ โครงการ และงบประมาณ
การประชุมสัมมนา เรื่อง การบริหารจัดการข้อมูลด้านแผนที่
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2554
ประเด็นที่ 1 ให้ทบทวนโยบายแนว ทางการดำเนินงานที่ ผ่านมา ของ ส. ป. ก. พร้อมทั้งวิเคราะห์ ปัญหาอุปสรรค และ แนวทางแก้ไข 1. กิจกรรมการจัดที่ดินและคุ้มครองพื้นที่
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
ดร.ชาญชัย จิตรเหล่าอาพร
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
1 การดำเนินงานที่เน้นหนักของ กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ. ศ นายแพทย์เสรี หงษ์หยก รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข 8 กันยายน 2553 โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค กรุงเทพฯ.
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
โครงการ นิสิตอาสาให้ความรู้การเลือกตั้ง กกต.
สู่การเดินหน้าปฏิรูป วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2557 ณ โรงแรม เดอะ สุโกศล
สรุปการประชุมระดมความคิด
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
คณะกรรมการพัฒนายุทธศาสตร์ บริหารงานของ มหาวิทยาลัยราชภัฏตามแนว ทางการปฏิรูประบบราชการ.
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
พระราชบัญญัติการประกอบกิจการ กระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑
ประเภทของนโยบายสาธารณะ
RNN Thailand Open Platform “ คนไทยทุกคนเป็นเจ้าของการปฏิรูป ”
นโยบายและการ ขับเคลื่อน วัตถุประสงค์ หลัก.
การสร้างวินัยทางการเงินการคลัง 24 กุมภาพันธ์ 2557
กรอบแนวทางในการยกร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ ของคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
เรื่อง แนวคิดการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตย
อนาคตเศรษฐกิจไทย ก้าวไกลสู่ตลาดทุน
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การปฏิรูปการเลือกตั้งผู้แทนราษฎร งานสัมมนา วันต่อต้านคอรัปชั่น 6 กันยายน 2557 การปฏิรูปการเลือกตั้งผู้แทนราษฎร ดร.บัณฑูร เศรษฐศิโรตม์ เครือข่ายเดินหน้าปฏิรูป (Reform Now Network : RNN)

ฐานคิดในการนำเสนอ 1. การปฏิรูปการเลือกตั้ง เป็นส่วนหนึ่งของการปฏิรูประบบการเมือง ซึ่งในสภาพการณ์ปัจจุบัน จำเป็นต้องปฏิรูปทั้งระบบ ---> มุ่งสู่ “ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม” 2. องค์ประกอบและปัจจัยที่เกี่ยวโยงกับ “ระบบการเลือกตั้ง” มีอยู่หลายส่วน ---> มุ่งเน้นเรื่อง “นโยบายการหาเสียงเลือกตั้ง” (ต้นทางส่วนหนึ่งที่เกี่ยวโยงกับปัญหาคอรัปชั่น)

การปฏิรูปการเมืองทั้งระบบ --> ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม 1.การออกแบบ สถาบันทางการเมือง การกำหนดนโยบายสาธารณะ การออกกฎหมาย การทำโครงการพัฒนาขนาดใหญ่ ฯลฯ 3.การใช้อำนาจ : การกำกับถ่วงดุลการใช้อำนาจ การกระจายอำนาจ การใช้อำนาจอธิปไตยทางตรง 2.การเข้าสู่อำนาจ : การเลือกตั้ง การใช้อำนาจ + การตรวจสอบการใช้อำนาจ มีผลเชื่อมโยง ส่งผลต่อการเลือกตั้ง การกำหนดนโยบายหาเสียง 4.การตรวจสอบ การใช้อำนาจ โดยองค์กรอิสระ โดยภาคประชาชน

นโยบายหาเสียงเลือกตั้ง 1 ใน 3 ปัจจัยสำคัญต่อการตัดสินใจเลือกตั้ง 3 ก.ค.54 ในขณะที่ การซื้อสิทธิขายเสียงได้ถูกลดความสำคัญลง ไม่ได้มีอิทธิผลมากเหมือนในอดีต พรรคการเมืองและประชาชนสนใจกับ “ชุดนโยบายมากขึ้น” ประชาชนมีการเรียนรู้ทางการเมืองมากขึ้น ตัดสินใจด้วยตนเองมากขึ้น อ้างอิง : สิริพรรณ (2554)

นโยบายหาเสียงเลือกตั้ง ข้อเสนอชวนเสวนา ควรสร้างความแตกต่างที่ชัดเจนระหว่าง นโยบายหาเสียงเลือกตั้ง & เป้าหมาย/ ยุทธศาสตร์ประเทศ นโยบายหาเสียงเลือกตั้ง นโยบายรัฐบาล ควรเป็นนโยบาย/ ยุทธศาสตร์ เพื่อให้บรรลุ เป้าหมาย / ยุทธศาสตร์ประเทศ

นโยบายหาเสียงเลือกตั้ง ที่มาของเป้าหมาย/ ยุทธศาสตร์ประเทศ แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐในรัฐธรรมนูญ (เช่น กระจายการถือครองที่ดิน ... ฯลฯ) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (เช่น สังคมคาร์บอนต่ำ ...ฯลฯ) แผนแม่บทการพัฒนาสาขาต่างๆ ( เช่น แผนแม่บทสิ่งแวดล้อม ...ฯลฯ)

นโยบายหาเสียงเลือกตั้ง & การปฏิรูป 1. ข้อกำหนดเกี่ยวกับเนื้อหานโยบายหาเสียง (กฎกติกา : มีเนื้อหาเพียงพอ+ กลไกดำเนินการ + ที่มางบประมาณ + ผลกระทบ + แนวทางป้องกัน + ระดับของการมีส่วนร่วมประชาชน) เป้าหมาย / ยุทธศาสตร์ประเทศ นโยบาย หาเสียงเลือกตั้ง 2. ให้สมาชิกพรรคการเมือง + ประชาชนชนทั่วไป มีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบาย 3. การมีส่วนร่วมในการ วิพากย์นโยบายหาเสียง 4. การมีส่วนร่วมในการ มีส่วนร่วมกำกับ ควบคุมการปฏิบัติตามนโยบายหาเสียง (ร่วมให้ข้อคิดเห็น , ร่วมปรึกษา, ร่วมตัดสินใจ, ปชช.ตัดสินใจ)