กระบวนการทำงานและบุคลากร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
Advertisements

รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
กิจกรรมที่ 9 ระดับสารสนเทศ จุดประสงค์ อธิบายและจำแนกระดับสารสนเทศ.
ซอฟต์แวร์.
ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS )
05/06/54 วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องความหมายและองค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล.
Software.
เรื่อง องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ จำทำโดย นาย เดชฤทธิ์ ร้อยพรหมมา
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2 (ง31102)
Utility (โปรแกรมอรรถประโยชน์)
ซอฟต์แวร์.
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
ระบบฐานข้อมูล ข้อมูลมีความสำคัญมากต่อองค์การ ดังนั้นจะต้องมีการจัดเก็บที่เป็นระบบ สามารถค้นหาได้ง่าย เพื่อที่นำมาใช้ให้ทันเวลา ในการตัดสินใจของผู้บริหาร.
ระบบย่อยของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
การวิเคราะห์ความต้องการด้านระบบ
NU. Library Online Purchasing System
ลักษณะระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
สำนักเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Surachai Wachirahatthapong
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ โดยหลักการแล้วจะประกอบด้วย 5 ส่วน คือ องค์ประกอบด้านฮาร์ดแวร์ องค์ประกอบด้านซอฟท์แวร์ หน่วยงานหรือตัวบุคคล วิธีการปฏิบัติงาน.
บุคลากร (Peopleware) บุคลากรทางด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ค่อนข้างมีความจำเป็นที่ต้องมีความรู้หลากหลาย และมีความสนใจเทคโนโลยีสารสนเทศใหม่ๆ เสมอ และคอยติดตามข่าวสารความเป็นไปของเทคโนโลยีทางด้านนี้
CSC420 Operating Systems ผู้สอน : อ.สุรชัย ดียิ่ง ห้องเรียน : 5-357
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
องค์ประกอบทางด้านซอฟต์แวร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
คำสั่ง while และ do…while
การใช้คำสั่ง เงื่อนไข การเขียนเว็บเพจโดยใช้ ภาษาสคริปต์ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
การทำซ้ำด้วย คำสั่ง for ง การเขียนได นามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
การสร้างตาราง ง40205 การเขียนเว็บไซต์สไตล์ ป.พ. ศูนย์คอมพิวเตอร์
คำสั่ง for ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
สาเหตุของการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในธุรกิจ
เรื่ององค์ประกอบคอมพิวเตอร์
บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์การ
กิจกรรมที่ 1 ซอฟต์แวร์ระบบ จุดประสงค์ 1. บอกความหมายของซอฟต์แวร์
Geographic Information System
การพัฒนาระบบสารสนเทศ:องค์กรขนาดเล็ก
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
โรงเรียนเทศบาล ๕ (วัดหาดใหญ่)
การใช้คำสั่งเงื่อนไข
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในการประมวลผลข้อมูล
ระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหาร
การจัดการฐานข้อมูล.
กิจกรรมที่ 1 ซอฟต์แวร์ระบบ จุดประสงค์ 1. บอกความหมายของซอฟต์แวร์
-เครื่องมือสำหรับการรักษาความปลอดภัยของระบบสารสนเทศ - ไฟรว์วอลล์
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ม.4/2 โรงเรียนมัธยมวัดป่ามะไฟ
หลักการแก้ปัญหา.
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 1 รหัสวิชา ง 31101
ง31102 เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
โรงเรียนเทคโนโลยีภูเขียว
คอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
ระบบฐานข้อมูล.
Planing : ระบบการวางแผนงบประมาณ
บทที่1 การบริหารการผลิต
จัดทำโดย.... นางสาววริศรา ทาวรรณ์ เลขที่ 35 ชั้น ม.4/13
นายณัฐพล นาคะป่า เลขที่ 36 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/7
วิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ รหัสวิชา Computer Technology and Operating System บทที่ 1 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อ.รจนา วานนท์ Master.
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กระบวนการทำงานและบุคลากร ง31102 เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม

กระบวนการทำงาน เป็นการกระทำต่างๆที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศ เช่น การเขียนโปรแกรม การป้อนข้อมูล การซ่อมบำรุง ขั้นตอนการทำงาน การจัดการข้อมูล โดยทั่วไปจะหมายถึงขั้นตอนการสั่งงานคอมพิวเตอร์

การเขียนโปรแกรม คือการนำคำสั่งในภาษาการเขียนโปรแกรมมาจัดเรียงกันเพื่อสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้ตามที่ต้องการ ผู้เขียนโปรแกรมเราเรียกว่า programmer

อัลกอริธึม คือชุดของขั้นตอนการทำงานซึ่งใช้ในการแก้ปัญหาต่างๆ

การวิเคราะห์และออกแบบระบบ คือกระบวนการที่วิเคราะห์สภาพปัญหาและออกแบบระบบที่ใช้แก้ปัญหานั้นๆ ผู้ทำหน้าที่วิเคราะห์ระบบคือ ซิสเต็มอนาลิส (system analyst)

บุคลากร คือบุคคลที่มีบาทหน้าที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศ เราสามารถแบ่งระดับการบริหารจัดการระบบสารสนเทศได้เป็น 3 ระดับคือ ผู้บริหารระดับสูง(top manager) ผู้บริหารระดับกลาง (middle manager) และ ผู้บริหารระดับปฏิบัติการ (operating manager)

ผู้บริหารระดับสูง(top manager) คือบุคคลที่มีอำนาจสูงสุดในการตัดสินใจเป็นผู้ให้นโยบายในการทำงาน

ผู้บริหารระดับกลาง(middle manager) คือผู้ที่ทำหน้าที่ดูแลควบคุมงานแต่ละฝ่ายและคอยประสานงานระหว่างผู้บริหารระดับสูงกับพนักงานระดับปฏิบัติการ

ผู้บริหารระดับปฏิบัติการ(operation manager) คือผู้ที่ทำหน้าที่ดำเนินการทำงาน คอยแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในการทำงาน เก็บข้อมูลและสถิติต่างๆ

ตัวอย่างของบุคลากร Programmer (นักเขียนโปรแกรม) ทำหน้าที่จัดเรียงคำสั่งในภาษาการเขียนโปรแกรมเพื่อให้โปรแกรมทำงานได้ตามที่กำหนด

ตัวอย่างของบุคลากร System Analyst (ซิสเต็มอนาลิส) คือผู้ที่ทำหน้าที่วิเคราะห์ระบบโดยการสอบถามข้อมูลและผู้เกี่ยวข้องกับการทำงานเพื่อจะได้ระบบการทำงานใหม่ที่สามารถแก้ความบกพร่องของระบบงานเดิมๆได้

ตัวอย่างของบุคลากร Software Engineer (ซอฟต์แวร์เอนจิเนีย) หรือ วิศวกรซอฟต์แวร์ ทำหน้าที่ในการสร้างซอฟต์แวร์ทั้งกระบวนการ หรือพูดง่ายๆก็คือผู้สร้างซอฟต์แวร์

ตัวอย่างของบุคลากร Computer administrator (admin) คือผู้ดูแลการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ให้ระบบสามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่อง และหมั่นคอยปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานของระบบให้ดีขึ้น

ตัวอย่างของบุคลากร Webmaster (เว็บมาสเตอร์) คือผู้ที่ทำหน้าที่คอยดูแลเว็บไซต์ ทำหน้าที่ปรับปรุงข้อมูลบนเว็บให้ทันสมัยอยู่เสมอ พร้อมกับหมั่นตรวจสอบการใช้งานของบุคคลทั่วไป

ตัวอย่างของบุคลากร System tester (ซิสเต็มเทสเตอร์) คือผู้ที่ทำหน้าที่คอยตรวจสอบการทำงานของโปรแกรม คอยหาจุดบกพร่องของโปรแกรมว่าโปรแกรมนั้นผิดพลาดในส่วนใดบ้างจากนั้นก็ส่งข้อมูลให้นักเขียนโปรแกรมเพื่อทำการแก้ไขต่อไป